Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์ใจ ญาณชาญปรีชา, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T08:05:11Z-
dc.date.available2023-08-22T08:05:11Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9025en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสามารถทางการแข่งขันของพนักงาน การประปาส่วนภูมิภาคเขต 2 (2) ศึกษาองค์ประกอบขององค์การสมรรถนะสูงของการประปาส่วนภูมิภาคเขต 2 (3) เปรียบเทียบความสามารถทางการแข่งขันของพนักงาน การประปาส่วนภูมิภาค เขต 2 โดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (4) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบองค์การ สมรรถนะสูงที่มีต่อระดับความสามารถของการแข่งขันของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาค เขต 2 วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรคือ พนักงานการประปาส่วนภูมิภาค เขต 2 กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ที่ใช้ทดสอบสมมติฐานการวิจัยได้แก่ การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบแบบ แอลเอสดี และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สัมพันธ์แบบ เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสามารถทางการแข่งขันของพนักงานในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยทางสถิติสูงสุด คือ ด้านคุณภาพในการ ดำเนินงาน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยทางสถิติตาสุด คือ ด้านการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า (2) การศึกษา องค์ประกอบขององค์กรสมรรถนะสูงของการประปาส่วนภูมิภาคเขต 2 พบว่าโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยทางสถิติสูงที่สุด คือ ด้านผลลัพธ์การดำเนินงาน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยทางสถิติตาที่สุด คือ ด้านทรัพยากรบุคคล (3) เมื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการ แข่งขันของพนักงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลพบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ด้านเพศ อายุ สถานภาพสมรส ตำแหน่ง ระดับการศึกษา หน่วยงานสันสังกัดและระยะเวลาในการทำงาน (4) เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบขององค์การสมรรถนะสูง พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับความสามารถทางการแข่งขันของพนักงานที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประปาส่วนภูมิภาคเขต 2--พนักงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ขององค์ประกอบขององค์กรสมรรถนะสูงที่มีต่อความสามารถทางการแข่งขันของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาคเขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelation of elements of a high performance organization to employees' competitiveness at Provincial Waterworks Authority Region 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of employees’ competitiveness at Provincial Waterworks Authority Region 2; (2) to study elements of a high performance organization at Provincial Waterworks Authority Region 2; (3) to compare employees’ competitiveness at Provincial Waterworks Authority Region 2 by personal characteristics; and (4) to study the relation of elements of a high performance organization to employees’ competitiveness at Provincial Waterworks Authority Region 2. This study was a survey research. The population was employees at Provincial Waterworks Authority Region 2 who 100 of them were samples. A questionnaire was used for data collection. The data was analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, least significant difference and Pearson correlation coefficient analysis. The results showed that (1) overall level of employees’ competitiveness was at high level. Considering by aspect, it was found that operational quality aspect was at the highest mean and the serving of customers’ needs aspect was at the lowest mean; (2) overall elements of a high performance organization at Provincial Waterworks Authority Region 2 was at high level. Considering by aspect, it was found that operational performance aspect was at the highest mean and human resource aspect was at the lowest mean; (3) employees with different gender, age, marital status, work position, educational level, department and work experience had different competitiveness at .05 statistically significant level; and (4) the relation of elements of a high performance organization to employees’ competitiveness at Provincial Waterworks Authority Region 2 was positive and at moderate level with statistically significant difference at .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140802.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons