Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorญาณี มหาวงศนันท์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T08:08:22Z-
dc.date.available2023-08-22T08:08:22Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9026en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับความผิดฐานทำร้ายร่างกายมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญาและมาตรการต่างๆ ทางกฎหมายต่อผู้กระทำผิดฐานทำร้ายร่างกายตามกฎหมายไทย 2) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ รูปแบบ วิธีการ ความเหมาะสมในการนำมาใช้ฟื้นฟูผู้กระทำผิดฐานทำร้าย ร่างกาย 3) สภาพปัญหาของกฎหมายที่เป็นบทลงโทษความผิดฐานทำร้ายร่างกายและปัญหาที่เกิด จากการใช้กฎหมายดังกล่าว 4) หลักการดำเนินคดีอาญาในชั้นพนักงานอัยการ 5) การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในต่างประเทศ และ 6) หาแนวทางในการนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้กับความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ทั้งวิเคราะห์ถึงความผิดฐานทำร้ายร่างกายว่าจะสามารถนำมาใช้ร่วมกับกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ได้หรือไม่ โดยคำนึงถึงพื้นฐานทางความคิด เจตนารมณ์และประเด็นปัญหาทางกฎหมาย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการรวบรวมข้อกฎหมาย ความคิดเห็นทางวิชาการจากหนังสือ วารสาร บทความ การสัมมนาวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ระเบียบข้อบังคับต่างๆ และวิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า แนวความคิดของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ควบคู่กับ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายจะสามารถลดปริมาณคดีที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมได้ทำให้ผู้กระทำผิด ผู้เสียหาย ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ ได้มีส่วนร่วมในการยุติคดีด้วยความเข้าใจอันดีเกิดความสมานฉันท์ขึ้นในสังคม ป้องกันการกระทำผิดซํ้าได้เป็นอย่างดี ไม่เน้นการลงโทษจำคุกกับผู้กระทำผิดทุกราย โดยมุ่งเน้นการฟื้นฟูแก้ไขตัวผู้กระทำผิดให้ดีขึ้น และจะทำให้ทุกฝ่ายเกิดส้มพันธภาพที่ดีต่อกันสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุขth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำร้ายร่างกายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.titleการใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับความผิดฐานทำร้ายร่างกายth_TH
dc.title.alternativeUse of restorative justice regarding offences Against bodyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study titled “use of restorative justice regarding Offences Against Body” was purposed 1) to study the laws about criminal liability and legal measures against those offences against body under Thai Law. 2) Theories on the restorative justice process, models, procedures, methodology and appropriate use for the rehabilitation of such offenders. 3) Problems of legal issues with the penalty for offences against body and problems arising from the use of such laws. 4) The principle of juridical processes at the prosecutor level. 5) Use of a restorative justice system in others jurisdictions and 6) Finding the approach and analysis in applying of restorative justice in this matter of offences against body and with regards based on opinion, the spirit and issue problems with the law. Methodology, in general this was a documentary research with views collected from reviews of legal provisions, academic book reviews, journals, articles, seminars, thesis, independent study, regulations and analysis of the judgments in the Supreme Court that were related. The results were the ideas of using restorative justice together with the criminal processes on offences against body are able to reduce the number of cases to the justice system. This make the offenders, victims and affected communities a choice to participate or terminate cases with a better understanding of reconciliation in their society and may prevent recidivism. Not focus on prison sentences for all offenders but focusing on restorative justice processes with the offenders to be a better person in society and all parties can form a good relationship with each other and can live together peacefully.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_145046.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons