Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนาภรณ์ ช่อเกตุ, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T02:12:25Z-
dc.date.available2023-08-24T02:12:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9038en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการคุ้มครองผู้เยาว์ที่กระทำผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงแนวคิดและสาเหตุของการกระทำความผิดทางอาญาตลอดจนบทกฎหมายและบทลงโทษซึ่งใช้บังคับกับผู้เยาว์ที่กระทำความผิดทางอาญา เพื่อเสนอให้มีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการคุ้มครองผู้เยาว์ที่กระทำผิดทางอาญาเช่นเดียวกับเด็กและเยาวชน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการค้นคว้าทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดและสาเหตุของการกระทำความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชน เปรียบเทียบกับการกระทำผิดทางอาญาของผู้เยาว์รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายทั้งการลงโทษและการคุ้มครองผู้กระทำผิด ทางกฎหมายทั้งที่มีการบังคับใช่ในประเทศไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า ผู้เยาว์ที่กระทำความผิดทางอาญานั้น กฎหมายกำหนดให้ผู้เยาว์เข้ารับ การพิจารณาตามกระบวนการยุติธรรมเช่นเดียวกับผู้ที่บรรลุนิติภาวะหรือผู้ใหญ่ หากแต่แท้จริงแล้วนั้น ผู้เยาว์เป็นผู้ที่อ่อนด้อยประสบการณ์ มีวุฒิภาวะต่ำและถูกชักจูงได้ง่าย เช่นเดียวกับเด็กและเยาวชน ดังนั้นเมื่อผู้เยาว์ได้กระทำความผิดทางอาญาก็ควรที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติศาล เยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 เช่นเดียวกับเด็กและเยาวชน ที่ได้กระทำความผิดทางอาญาโดยบัญญัติให้ “เยาวชน” นั้นหมายถึงบุคคลอายุเกิน 15 ปีบริบูรณ์แต่ ไม่เกิน 20ปีบริบูรณ์” หรืออาจให้เป็นดุลยพินิจของศาลในการสั่งให้คดีที่ผู้กระทำผิดเป็นผู้เยาว์ได้รับ ความคุ้มครองพิเศษตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครัว พ.ศ. 2553 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เยาว์ได้กลับตัวมาเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้เยาว์--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการคุ้มครองผู้เยาว์ที่กระทำผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553th_TH
dc.title.alternativeProtection of minors criminal offense under juvenile and family court and juvenile and family case procedure act, B.E. 2553en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose is to study the concepts and penalties relating to minors who commit criminal crimes. This resulted in the proposal of law reform for protecting minors who commit a crime as a juvenile. This research is a qualitative study focusing on concepts and theories of the causes of juvenile crime compared with the criminal acts of minors. Moreover, this research is focused on analyzing Thai laws concerning law enforcement and penalty for offenders protection compared with the legislations in other countries. However, it is found that Thai legislation relating to the minor criminal is the same way as adults, even if the minors are inexperience, low maturity and easy to persuade. Thus, the minor must be protected by amending a provision in the “Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Case Procedure Act, B.E. 2553”. The new provision could be as follows: "youth" must be defined as "a person over the age of 15 years but not more than 20 years of age" or let to the discretion of the court order for special protection under Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Case Procedure Act, B.E. 2553. This new provision may transform the minor to become the better person for our countryen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148067.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons