Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนากร สระแสงทรวง, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T02:30:06Z-
dc.date.available2023-08-24T02:30:06Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9039en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการบังคับใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก ศึกษาเฉพาะกรณีการขับขี่ รถขณะเมาสุรา มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันผู้ขับขี่ที่เมาสุรา (2) เพื่อศึกษาว่าหลักเกณฑ์ของกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับกรณีขับขี่รถขณะมึนเมาสุราสามารถปรับใช้หรือควบคุมการขับขี่รถขณะมึนเมาสุราได้หรือไม่ (3) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับมาตรการควบคุมและป้องกันผู้ขับขี่ที่มึนเมาสุรา (4) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและนำผลการวิเคราะห์มาเป็นแนวทางกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการกำหนดโทษ บทลงโทษ ผู้ขับขี่รถขณะมึนเมาสุรา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาจากประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตลอดทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการขับขี่รถ ขณะมึนเมาสุราของประเทศไทยและกฎหมายต่างประเทศ ทั้งในแง่ของข้อกำหนดของกฎหมาย วิธีการตรวจวัด บทลงโทษหรือแนวทางการลงโทษตามกฎหมาย และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของรายงานตามความเหมาะสม ผลการศึกษาพบว่าหากมีการเพิ่มอัตราค่าปรับ ในความผิดฐานขับรถขณะมึนเมาสุราให้สูงขึ้น ทัดเทียมกับต่างประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่นหรือประเทศอังกฤษ จะถือว่าเป็นการปรามในทางเศรษฐกิจแก่ ผู้กระทำความผิดฐานขับรถขณะมึนเมาสุราได้เพราะจะทำให้ผู้กระทำความผิดสำนึกถึงผลกระทบที่เกิดขื้นและรู้ ว่าเมื่อตนเองกระทำความผิดจะต้องได้รับความเดือดร้อน ต้องขวนขวายหาเงินไปชำระค่าปรับในอัตราสูง ซึ่งจะมีผลในทางจิตใจอีกทั้งหากเพิ่มโทษปรับให้สูงขึ้นอาจทำให้ผู้กระทำความผิดฐานขับขี่รถขณะมึนเมาสุรา เห็น คุณค่าว่าไม่สมควรที่จะดื่มสุราจนกระทั้งถูกชับคุมดำเนินคดีเพราะหากผู้กระทำความผิดฐานขับรถขณะมึนเมา สุราถูกจับกุมดำเนินคดีหลายครั้งจะต้องเสียค่าปรับในจำนวนมาก อันเป็นการลงโทษในทางสังคม (Social sanction) เพราะตนเองจะต้องถูกตำหนิจากญาติหรือบุคคลใกล้ชิด เพราะต้องขวนขวายหารายได้เพิ่มจากที่เป็นอยู่ ซึ่งจะก่อให้เกิดความยากลำบากในการดำรงชีพ ดังนั้นสรุปได้ว่าใช้มาตรการลงโทษทางทรัพย์สิน ผนวกกับการใช้มาตรการคุมประพฤติตามเงื่อนไขที่ศาลกำหนด จะทำให้ลดจำนวนผู้กระทำความผิดลง และไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติจราจรทางบกth_TH
dc.subjectการขับรถขณะเมาสุราth_TH
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการบังคับใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก ศึกษาเฉพาะกรณีการขับขี่รถขณะเมาสุราth_TH
dc.title.alternativeEnforcement of the road traffic act : a case study drunk driving offencesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study regarding the enforcement of the Road Traffic Act. Study of drunk driving offences. Are to (1) To study the theories related to control and prevent the driver is drunk (2) To study the rules of the law of Thailand relating to the driving while intoxicated, alcohol can be used to control the driving. alcohol intoxication or (3) To study and compare the laws of Thailand and foreign-related measures to control and prevent the rider intoxicating liquor (4) To analyze the problem and the results of the analysis is the determination of appropriate measures to determine. The penalties for driving while intoxicated by alcohol. This Independent study is a qualitative research method, research papers by studying the Criminal Code and the Civil and Commercial Code. All laws related to the issue of drink driving offences, liquor and international law. Both in terms of legal requirements. Methods Penalties or sanctions under the law. And other documents that related to this topic. The study found that if the rate increase fines. The offense of driving while intoxicated liquor to a higher par with countries such as Japan or England. Enforcement will be considered in the economy to the offender of driving while intoxicated liquor. It will make the offender realize the impact occurred and the perpetrator must know that when they have suffered. To earn money to pay the fine at a high rate. This will result in an increased penalty if the psychological as well as a higher cause offenders driving while drunk alcohol. Values that do not deserve to drink alcohol until the arrest and prosecution if the offender of alcohol was arrested for driving while intoxicated prosecuted several times to be fined in amount. As punishment in the social (Social sanction) because they will be blamed by relatives or close. You must have earned income from the network. This will cause difficulties in living. Therefore conclude that the punitive measures the property. Coupled with measures to probation under the conditions specified by the court. To reduce the number of offenders and do not cause damage to others.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148153.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons