Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9041
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัลย์ หอนพรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธนกฤต พงษ์ประวัติ, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T02:44:00Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T02:44:00Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9041 | en_US |
dc.description.abstract | งานศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ศึกษากรณีการอุ้มบุญ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพระราชบัญญัติอุ้มครองเด็ก ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 และวิเคราะห์สภาพปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายดังกล่าว เพื่อป้องกันไม่ให้มีการนำเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์และการรับตั้งครรภ์แทนไปใช้ในการค้ามนุษย์ การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการค้นคว้าจากเอกสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในรูปแบบของหนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ ตัวบทกฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกา คำสั่ง ข้อกำหนด ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทความจากวารสารต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันได้มีการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์และการรับตั้งครรภ์แทนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการค้ามนุษย์ โดยมีการนำเด็กที่เกิดจากการรับตั้งครรภ์แทนไปแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ เช่น การใช้แรงงาน การนำไปขอทาน การนำไปให้บริการทางเพศ เป็นต้น ซ็งปัญหาดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากการควบคุมการดำเนินการรับตั้งครรภ์แทนไม่ดีพอ จึงทำให้มีบุคคลหาประโยชน์จากการรับรับตั้งครรภ์แทน โดยไม่คำนึงถึงจริยธรรมและศีลธรรมอันดี ดังนั้น จึงควรมีการกำหนดคุณสมบัติของหญิงที่รับตั้งครรภ์แทน เพื่อลดความเสี่ยงในการที่เด็กเกิดมามีความผิดปกติทางร่างกาย และกำหนดโทษสำหรับการกระทำ ที่ฝ่าปันต่อพระราชบัญญัติอุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์ ซ็งมีบุคคลหลายคนร่วมกันกระทำความผิดให้มีความรุนแรงมากยี่งขึ้น ตลอดจนควรมีหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์และการรับตั้งครรภ์แทน เพื่อประโยชน์ในการควบคุมตรวจสอบ และป้องกันไม่ให้มีการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุทางการแพทย์และการรับ ตั้งครรภ์แทนไปในทางที่ไม่เหมาะสม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การค้ามนุษย์ | th_TH |
dc.subject | ความผิดต่อบุคคล | th_TH |
dc.subject | การค้าเด็ก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ ศึกษากรณีการอุ้มบุญ | th_TH |
dc.title.alternative | Human trafficking : a case study of surrogacy | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This Independent Study has the goal to study the Protection of Children Born with the Aid of Reproductive Medical Technology Act BE 2558 and to analyze problems with such legislation, in order to prevent cases of reproductive medical technology and surrogacy being used in human trafficking. This study is a qualitative researchbased on literature research using both Thai and foreign language textbooks, dissertations, theses, laws, Supreme Court orders, regulations, and related research articles from various journals. The results showed that assisted reproductive technology and surrogate pregnancy have been used for the purpose and intent of human trafficking, by adopting children born from surrogate mothers to be exploited illegally, like for child labor, begging, or for sexual services etc. This problem occurs because the regulations permitting surrogacy are ineffective. It allows a person to exploit illegally from surrogacy with no regard for ethics and morality. Therefore, certain qualifications should be required of surrogate mothers to reduce the risk of children born with physical abnormalities. Also, penalties for acts that violate the Protection of Children Born with the Aid of Reproductive Medical Technology Act BE 2558, especially cases in which several persons have jointly committed a violation, should be changed to be much more severe. In addition, there should be an agency that is responsible for collecting data on the use of assisted reproductive technology and surrogacy for the purpose of monitoring and regulating the use of assisted reproductive technology and surrogacy. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_148154.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License