Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวลใย ภูคงคา, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T05:33:00Z-
dc.date.available2023-08-24T05:33:00Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9052-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของ นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนนครนายกวิทยาคม จำนวน 2 ห้อง รวม 71 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วจับ สลากให้กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองเรียนด้วยการจัดการเรียนแบบผสมผสาน และอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่ม ควบคุมเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการ เรียนรู้แบบผสมผสาน (2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมี และ (4) แบบวัดทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนที่เรียนด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.11en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานth_TH
dc.subjectเคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- นครนายกth_TH
dc.titleผลการใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะเคมีและทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนครนายกวิทยาคม จังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeEffects of using blended learning management on chemistry learning achievement on the topic of chemical bonds and information and communication technology skills of Mathayom Suksa IV students at Nakhon Nayok Wittayakhom School in Nakhon Nayok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare chemistry learning achievement of students who learned under blended learning management with that of students who learned under the traditional learning management; and (2) to compare the students’ information and communication technology skills before and after learning under blended learning management. This research was a quasi-experimental research. The research sample consisted of 71 Mathayom Suka IV students in two intact classrooms of Nakhon Nayok Wittayakhom School, obtained by cluster sampling. Then one of the classrooms was randomly assigned as the experimental group to learn under blended learning management; while the other classroom, the control group to learn under traditional learning management. The employed research instruments included (1) learning management plans for the blended learning management; (2) learning management plans for the traditional learning management; (3) a chemistry learning achievement test; and (4) an assessment scale on information and communication technology skills. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings indicated that (1) chemistry learning achievement of the students who learned under blended learning management was significantly higher than the counterpart learning achievement of the students who learned under the traditional learning management at the .05 level; and (2) the post-learning information and communication technology skills of the students who learned under blended learning management was significantly higher than their pre-learning counterpart skills at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155381.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons