Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9054
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศักดิ์สกุล คลังชะนัง, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T05:54:54Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T05:54:54Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9054 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าใน ชีวิตประจำวันของนักเรียน ระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ ผ่านชิ้นงานกับกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้าง ผลงานของนักเรียน ระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่าน ชิ้นงาน กับกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกช่าง อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่มด้วยการจับสลากเลือก กลุ่มตัวอย่างจำนวน 2 ห้องเรียน จากทั้งหมด 6 ห้องเรียน แล้วสุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 38 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แผนการจัดการ เรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เรื่อง ไฟฟ้าใน ชีวิตประจำวัน และแบบประเมินความสามารถในการสร้างผลงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันของ นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงาน สูงกว่าของ กลุ่มปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน กลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงานสูงกว่าของกลุ่มปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.151 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ไฟฟ้า--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงานเรื่องไฟฟ้าในชีวิตประจำวันเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using constructionism approach on the topic of electricity in daily life to develop learning achievement and productive ability of vocational certificate students at Prachuap Khiri Khan Technical College | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare learning achievement in the topic of Electricity in Everyday Life of the group of students learning under the constructionism approach with that of the group of students learning under the conventional teaching approach; and (2) to compare the productive ability of the group of students learning under the constructionism approach with that of the group of students learning under the conventional teaching approach. The research sample consisted of second year students in two intact classrooms in the Vocational Certificate Program in Industrial Education of Prachuap Khiri Khan Technical College, obtained by cluster sampling from the existing six classrooms. Then one classroom containing 38 students was randomly assigned as the experimental group; the other classroom containing 32 students, the control group. The employed research instruments comprised learning management plans under the constructionism approach, an achievement test, and a productive ability assessment scale. The data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The findings were (1) the learning achievement in the topic of Electricity in Everyday Life of the group of students learning under the constructionism approach was higher than that of the group of students learning under the conventional teaching approach at the .05 level of statistical significance; and (2) the productive ability of the group of students learning under the constructionism approach was higher than that of the group of students learning under the conventional teaching approach at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน พินสุวรรณ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155386.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License