Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์th_TH
dc.contributor.authorกัลญา มณีแจ่ม, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T06:06:53Z-
dc.date.available2023-08-24T06:06:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9055en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม และ (3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 80 คน แบ่งเป็น 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 40 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี แผนการจัดการเรียนรู้ โดยการสอนแบบปกติ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.87en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปฏิกิริยาเคมี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบพินิจพิเคราะห์th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคมเรื่องปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of learning management based on science technology and society approach in the topic of chemical reaction on science learning achievement and analytical thinking ability of Mathayom Suksa II students at extra large sized secondary schools in Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science learning achievement in the topic of Chemical Reaction of Mathayom Suksa II students learning under learning management based on science, technology and society approach with that of students learning under the conventional teaching method; (2) to compare analytical thinking abilities of Mathayom Suksa II students before and after learning under learning management based on science, technology and society approach; and (3) to compare analytical thinking ability of Mathayom Suksa II students learning under learning management based on science, technology and society approach with that of students learning under the conventional teaching method. The research sample consisted of 80 Mathayom Suksa II students in two intact classrooms of 40 students each at an extra-large sized secondary school in Chon Buri province in the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments used in this study were learning management plans based on science, technology and society approach, learning management plans for conventional teaching method, a science learning achievement test, and an analytical thinking ability test. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the science learning achievement scores in the topic of Chemical Reaction of the students learning under learning management based on science, technology and society approach were significantly higher than the counterpart scores of the students learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significance; (2) the post-learning analytical thinking ability scores of the students learning under learning management based on science, technology and society approach were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (3) the analytical thinking ability scores of the students learning under learning management based on science, technology and society approach were significantly higher than the counterpart scores of the students learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155387.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons