Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐth_TH
dc.contributor.authorนำชัย ใจเที่ยงตรง, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T07:54:00Z-
dc.date.available2023-08-24T07:54:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9067en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อ (1) ศึกษาหลักการ แนวคิด เนื้อหา และทฤษฎีที่ เกี่ยวกับการกำหนดเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราวทำให้เห็นความสำคัญในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ผู้ต้องหา (2) ศึกษากฎหมายของต่างประเทศเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวกับการ กำหนดเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราว (3) ศึกษาการกำหนดเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราวของศาลระหว่าง ฝากขัง ตามรัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาล ยุติธรรม และข้อบังคับของประธานศาลฎีกาที่เกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราว (4) ศึกษาสภาพปัญหาการ กำหนดเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราว โดยเฉพาะการกำหนดเงื่อนไขการรายงานตัวว่าสอดคล้องกับหลัก กฎหมายหรือไม่ เพื่อกำหนดแนวทางแก้ไข กำหนดรูปแบบ ข้อเสนอในการปรับปรุงการกำหนด เงื่อนไขการรายงานตัวของผู้ต้องหาที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวระหว่างฝากขังให้เหมาะสมกับสภาพ ปัจจุบัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการ รวบรวมข้อมูลซึ่งแบ่งเป็นข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริงจากหนังสือ เอกสาร ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ ตลอดจนคำปรึกษา คำแนะนำ จากผู้มีความรู้ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและการ ปล่อยชั่วคราวผลการวิจัยพบว่า การกำหนดเงื่อนไขการรายงานตัวของผู้ต้องหาที่ได้รับการปล่อย ชั่วคราวระหว่างฝากขังเป็นการสร้างภาระเกินความจำเป็น ไม่สอดคล้องกับระบบการดำเนิน คดีอาญาในกระบวนการที่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ถูกกล่าวหาซึ่งได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเขาได้กระทำผิดจริง การงดหรือการลดเงื่อนไขการรายงานตัวของผู้ต้องหาที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวระหว่างฝากขังเป็นการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหา และยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในการอำนวยความยุติธรรมด้วยความสะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectการปล่อยชั่วคราวth_TH
dc.titleการปล่อยชั่วคราว : ศึกษาการกำหนดเงื่อนไขการรายงานตัวของผู้ต้องหาที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวระหว่างฝากขังth_TH
dc.title.alternativeTemporary discharge : study on condition of report of temporary discharged offenders during committalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe essential objectives of this research are: (1) to study on principles,concepts, content, and theory related to condition on temporary discharge leading to realization on the importance of protection of rights and freedoms of offenders; (2) to study on foreign laws for comparing with Thai laws related to condition on temporary discharge; (3) to study on condition on temporary discharge of the court during committal according to constitution, criminal procedure Code, Thai Judge Regulations, and Regulations of the President of the Supreme Court on Temporary Discharge; (4) to study on problems of condition on temporary discharge, especially, conditioning on report, in order to figure out whether it is consistent with laws or not for determining guidelines of solution, format and proposal on improvement of condition on report of temporary discharged offenders during committal to be suitable with current condition. The research methodology of this study was documentary researchconducted by collecting data divided into opinions and facts obtained from books and documents in Thailand and overseas as well as consulting and suggestions from some experts with knowledge on rights and freedom protection and temporary discharge. The results showed that condition on report of temporary dischargedoffenders during committal was excessive burden that was not consistent with criminal procedure system in protecting rights and freedom of offenders who were firstly assumed as innocent persons until their offences were proved to be guilty. Cancellation or reduction of conditions on report of temporary discharged offenders during committal was protection of rights and freedom of offenders and it may give benefits to society in giving fairness, convenience, rapidity, and justice.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150590.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons