Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี ชลนภาสถิตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาen_US
dc.contributor.authorภัทร์ชาพร อุ่นยวง, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T09:18:16Z-
dc.date.available2023-08-24T09:18:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9080en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณภาพการให้บริการของกลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 (2)เปรียบเทียบ คุณภาพการให้บริการของกลุ่มบริหารงานการเงนและสินทรัพยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต1 จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัญหาและขอเสนอแนะคุณภาพการให้บริการของกลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหาร สถานศึกษาและเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุของสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำนวน 244 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในกรณีที่พบความแตกต่างใช้การเปรียบเทียบรายคู่ (การจับคู่พหุคูณ)ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษา และเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุของสถานศึกษา มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาและเจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุของสถานศึกษาที่มี เพศ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการไม่แตกต่างกัน ยกเว้นผู้มอายุ และระยะเวลาการทำงานด้านการเงินและสินทรัพย์แตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้านกระบวนการให้บริการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และสำหรับผู้มีความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ด้าน การเงินและสินทรัพย์แตกต่างกันมีความคิดเห็นด้านกระบวนการให้บริการและด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ ควรจัดให้มีการอบรมด้านการเงินและพัสดุแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และควรให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการของกลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeService quality of the Financial and Assets Administration Group of Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the quality of services of the Financial and Assets Administration Group of Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office 1; (2) to compare the quality of services of the Financial and Assets Administration Group of Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office 1 by personal characteristics; and (3) to study problems and recommendations for improving the quality of those services. This was a survey research. The sample consisted of 244 people working as school administrators or financial/procurement officials at schools within the jurisdiction of Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office 1. Data were collected by questionnaire and analyzed through percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and multiple comparison in the case of differences. The results showed that: (1) overall, the samples had the high level of satisfaction on the service quality of the Financial and Assets Administration Group of Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office 1; (2) differences in sex, educational level, work position, and knowledge of computers and internet were not related to any differences in the service quality. Differences in age and length of time working in the field of finance and assets were related to differences in the service process aspect at .05 of significant level. Differences in knowledge of laws, rules and regulations related to finance and assets were related to differences in the service process and the service personnel aspect at .05 of significant level; and (3) the major recommendations were to provide continuous training on finance and procurement for related school personnel and to make it possible for personnel to substitute for each other in the work processen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_134127.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons