Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชญานันท์ บุญแรม, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T10:12:40Z-
dc.date.available2023-08-24T10:12:40Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9086-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความคิดทางเรขาคณิต เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนของแวนฮีลีร่วมกับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad และ (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดทางเรขาคณิต เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนของแวนฮีลีร่วมกับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนของแวนฮีลีร่วมกับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad มีนักเรียนจำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 43.75 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากเดิม 2 ระดับ และมีนักเรียนจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตเพิ่มขึ้นจากเดิม 1 ระดับ และมีนักเรียนจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 22.92 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตคงที่ นักเรียน ส่วนใหญ่จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 47.92 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตอยู่ในระดับ 3 รองลงมาจำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 31.25 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตอยู่ในระดับ 2และจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20.83 มีระดับความคิดทางเรขาคณิตอยู่ในระดับ 1และ 2)ระดับความคิดทางเรขาคณิตเรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนของแวนฮีลีร่วมกับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เพชรบุรีth_TH
dc.subjectเรขาคณิต--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนของแวนฮีลีร่วมกับ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ที่มีต่อระดับความคิดทางเรขาคณิต เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program on geometric thinking level in the topic of geometric transformation of grade 8 students at Princess Chulabhorn Science High School Phetchaburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to (1) study the geometric thinking level in the topic of geometric transformation of grade 8 students before and after learning by Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program and (2) compare the geometric thinking in the topic of geometric transformation of grade 8 students before and after learning by Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program. The samples consisted of 48 grade 8 students of Princess Chulabhorn Science High School Phetchaburi during the first semester of academic year 2020. They were selected by cluster random sampling. The research instruments included the mathematics learning management plans on geometric transformation by Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program and the geometric thinking level test on geometric transformation. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research revealed that 1) after learning by Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program, there were 21 students (43.75%) who gained two more levels of the geometric thinking, there were 16 students (33.33%) who gained one level of the geometric thinking, there were 11 students (22.92 %) who had a constant level of geometric thinking level, there were 23 students (47.92%) who had a level of geometric thinking at level 3, 15 students (31.25%) who had a level of geometric thinking at level 2, and 10 students (20.83%) who had a level of geometric thinking at level 1. (2) The geometric thinking in the topic of geometric transformation of grade 8 students after learning by Van Hiele teaching model learning management using the geometer’s sketchpad program was statistically higher than before learning at the significance level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168601.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons