Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคํา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตราวรรณ หวังเจริญ, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:56:15Z-
dc.date.available2022-08-23T03:56:15Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/908-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วิธีการการนำนโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ (2) ผลกระทบการนำนโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ (3) ข้อเสนอแนะการนำนโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเป็นการวิจัยเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประชากร คือ นักการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนสื่อมวลชนท้องถิ่น และองค์กรภาคประชาชน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ (1) นักการเมือง จำนวน 9 คน (2) เจ้าหน้าที่ของรัฐ จำนวน 9 คน (3) นักวิชาการ เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน และ สื่อสารมวลชนท้องถิ่น จำนวน 6 คน (4) องค์กรภาคประชาชน จำนวน 6 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) วิธีการนำนโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ ในทุก ขั้นตอนจะยึดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยมีสำนักงานพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลัก ในส่วนขั้นตอนการปฏิบัติงานในพื้นที่หัวหน้าหน่วยงานให้อำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน (2) ผลกระทบการนำนโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ ที่เห็นผลเป็นรูปธรรมส่งผลให้ประชาชนเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความนิยมศรัทธาในรัฐบาล และนักการเมืองที่มีส่วนในการผลักดันให้นโยบายบรรลุวัตถุประสงค์ (3) ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ภาครัฐ และนักการเมืองทุกกลุ่มทุกระดับควรให้การสนับสทุนนโยบายอย่างจริงจังและต่อเนี่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ไทย -- กาฬสินธุ์th_TH
dc.titleการนำนโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติในอำเภอสมเด็จจังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeImplementation of the "One Tambol One Product" policy in Somdet District, Kalasin Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study: (I) methods of implementing the “One Tambol, One Product” (OTOP) policy; (2) impact of implementing the OTOP policy; and (3) recommendations for implementing the OTOP policy. This was a qualitative study based on document research and in-depth interviews. The sample population of 30 consisted of 9 politicians, 9 government employees, 6 representatives of public organizations and 6 representatives from the group of academics, non- government development organizations and local journalists. Data was analyzed through descriptive analysis. The results showed that (I) Every step in the method of implementing the OTOP policy was based on the participation of every party concerned. The Community Development Office was the central agency. In the steps of operations in the field, the agency heads gave the decision making power to the operators themselves. (2) When implementation of the OTOP policy showed tangible results, the impact was to stimulate public participation in community activities and to increase the people’s approval and level of faith in the government and in the politicians who took a part in pushing to make the policy meet its goals. (3) The recommendations for OTOP policy implementation are that the government and politicians at all levels should support the policy sincerely and continuouslyen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118813.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons