Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9100
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
dc.contributor.author | ปราชญ์พงศ์ เศรษฐพงศ์, 2501- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T06:35:39Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T06:35:39Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9100 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในทางปฏิบัติ และทางกฎหมายในการดำเนินการทางวินัยกับผู้ต้องขังในเรือนจำ ตามกฎหมายพระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ เปรียบเทียบความแตกต่าง และความสอดคล้องกับหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ และข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังขององค์การสหประชาชาติ และแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังของต่างประเทศ การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาวิจัยจากเอกสาร การเก็บข้อมูล จากบทบัญญัติทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบังกับโทษ จากตำราทางวิชาการผลงานการวิจัยที่ผ่านมา ทั้งเอกสารภาษาไทย และต่างประเทศ ตลอดทั้งจากการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่เรือนจำฯ และจากผู้ต้องขังที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับผลกระทบจากการดำเนินการทางวินัยโดยตรง ผลการศึกษาพบว่า การลงโทษผู้ต้องขังที่กระทำผิดวินัยตามกฎหมายบังคับโทษของไทย คือ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2560 และกฎกระทรวง ฯ โดยกฎหมายจะกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ กำหนดไว้กว้างๆ ให้ผู้ปฏิบัติใช้ “ดุลพินิจ” เลือกลงโทษตามพฤติการณ์ ซึ่งอาจมีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมมีผลกระทบทั้งทางกาย และกระทบสิทธิ เสรีภาพ ศักดีศรีของผู้ต้องขัง แต่เมื่อศึกษาเปรียบเทียบ กับกฎหมายที่เป็นสากล พบว่าการดำเนินการลงโทษทางวินัยผู้ต้องขังตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ เป็นไปตามที่กฎหมาย รัฐธรรมนูญ และข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังของสหประชาชาติ ให้ความคุ้มครองไว้มีความสอดคล้อง ไม่มีความขัดแย้งแต่ประการใด และพบว่าการลงโทษโดยการ “ขังเดี่ยว” ยังเป็นโทษที่รุนแรง จึงควรยกเลิกการ “ขังเดี่ยว” และปรับปรุงแก้ไขกฎหมายบังคับโทษของไทย ให้มีความชัดเจนสอดคล้องกับหลักสากลทั่วไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การคุมประพฤติ | th_TH |
dc.subject | ทัณฑกรรม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.subject | นักโทษ | th_TH |
dc.subject | การลงโทษ | th_TH |
dc.title | การลงโทษทางวินัยผู้ต้องขังในเรือนจำ | th_TH |
dc.title.alternative | Discipline punishment of prisoner in the prisons | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Independent Study having to objective for analyze a problem and an obstacle in practice and legislative, Discipline Punishment of Prisoner in the Prisons follow the Department of Corrections Law Act compare with the difference and the accordance with principle of constitution and minimum standard regulation practice to a prisoner of the United nation Organization and guideline practice to a prisoner of the foreign country This Independent Study is quality research by education researches from document gathering data by the law relative with the penalty regulation from academic textbook, success research both of Thai and foreign document including both of interviewing prison officer and prisoner who are related or receive the effect from discipline penalty directly The Study found that,punishing prisoner that make a mistake the discipline follow Thai punishment law be Department of corrections law Act B. E. 2560 and ministerial regulation, by the law will specify standard method to specify is extensively the executor uses discretion to penalty follow the behavior which might have choose the practice is under the belt affect to physical, right, freedom, prestige of the prisoner but when study compare with the international law found that punishment a prisoner follow the Department of corrections act according to the constitution and minimum standard practice to a prisoner of United Nation Organization to protected according and don’t have oppose and found that, punishment by “single imprison” is strongly punishment then should cancel “ single imprison” and revise punishment regulations of the Thailand penalty have the clearly and according to general international. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_155000.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License