Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9117
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | ปัทมา ศรีมุข, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T08:08:39Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T08:08:39Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9117 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับมูลค่าสินค้าคงคลังที่เหมาะสมสำหรับ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด (2) วิธีเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าคงคลังที่ เหมาะสมกับ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอรึง จำกัด และ (3) จัดทำระบบควบคุมสินค้าคงคลังที่ เหมาะสมสำหรับ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด วิธีการศึกษาทำการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลังประเภทสินค้าสำเร็จรูปของ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากฐานข้อมูลของ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอรึง จำกัด เกี่ยวกับมูลค่ายอดขายสินค้าสำเร็จรูปและมูลค่าสินค้าคงคลังโดยเฉลี่ย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ตัวแบบการจัดการสินค้าคงคลังแบบ ABC สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับมูลค่าสินค้าคงคลังที่เหมาะสมสำหรับ บริษัท เกรทเตอร์ โพลีแมนูแฟคเจอรี่ง จำกัด ต้องมีค่าไม่เกินร้อยละ 16.7 ของมูลค่ายอดขายสินค้าสำเร็จรูป (2) วิธีเพี่ม ประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าคงคลังที่เหมาะสมกับ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอรี่ง จำกัด คือ 1) ต้องมีการตรวจติดตามการพยากรณ์ยอดขายอย่างเป็นระบบ 2) ต้องมีการกำหนด ระดับสินค้าคง คลังเพื่อความปลอดภัย จุดสั่งใหม่ และ ปริมาณการสั่งที่ประหยัดหรือปริมาณการสั่งที่เหมาะสม 3) ต้องสร้างความเป็นพันธมิตรกับผู้ขายหรือผู้ส่งมอบ 4) ต้องมีการวัดผลการดำเนินงานด้านสินค้าคง คลังเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง (3) ระบบควบคุมสินค้าคงคลังที่เหมาะสมสำหรับ บริษัท เกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเ จอรี่ง จำกัด คือ การนำระบบการควบคุมสินค้าคงคลังแบบ ABC มาประยุกต์ใช้ ซึ่ง สามารถจำแนกสินค้าคงคลังออกเป็นกลุ่มตามสัดส่วนมูลค่ายอดขายสินค้าสำเร็จรูปได้เป็น กลุ่ม A คิด เป็นร้อยละ 79.5 กลุ่ม B คิดเป็นร้อยละ 15.3 และ กลุ่ม C คิดเป็น ร้อยละ 5.2 โดยแต่ละกลุ่มจะมีความ เข้มงวดในการควบคุมที่แตกต่างกัน โดยกลุ่ม AWการควบคุมอย่างเข้มงวดมาก มีการประมวลผล ข้อมูลทุกเดือน กลุ่ม รมีการควบคุมเข้มงวดปานกลาง มีการประมวลผลข้อมูลทุกไตรมาส และ กลุ่ม C มีการควบคุมปกติ มีการประมวลผลข้อมูลทุก 6เดือน ซึ่งทำให้การจัดการสินค้าคงคลังเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัทเกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอริ่ง | th_TH |
dc.subject | สินค้าคงคลัง--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การจัดการสินค้าคงคลังของบริษัทเกรทเตอร์โพลีแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Inventory management of Greater Poly Manufacturing Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were : (1) to find out the appropriate inventory value level for Greater Poly Manufacturing Company Limited; (2) find the appropriate inventory management methods for the company to increase inventory management efficiency; and (3) set up the appropriate inventory control system for the company. The study was based on the secondary data collection from the database of the company including total sales of finished goods and average inventory cost. Data were analyzed by ABC analysis model based on percentage and mean. The result of the study reveal that : (1) the appropriate inventory value level for the company must not exceed than 16.7% of total sales of finished goods; (2) the appropriate inventory management methods for the company to increase inventory management efficiency were : 1) to monitor the sales forecast systematically; 2) to define the level of safety stock, re-order point, and economic order quantity or optimum order quantity; 3) to grow up the partnership with the suppliers; and 4) to measure the operating performance of the inventory management continuously; and (3) the appropriate inventory control system for the company was to apply the ABC classification method to separate the inventory based on the percentage of total sales of finished goods to Group A at 79.5%, Group B at 15.3%, and Group C at 5.2%. The strictness of control for each group was different in order to manage the inventory efficiently. : Group A was very strictly controlled and the data were analyzed every month; Group B was moderately strictly controlled and the data were analyzed every quarter; and Group C was normally controlled and the data were analyzed every six month. Thus, the mentioned inventory management would be efficiency | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_130689.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License