กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9120
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนชัย ยมจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | ปัทมาภรณ์ ขุมเพ็ชร์, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T08:17:47Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T08:17:47Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9120 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) (3) เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) จำแนนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานกับระดับผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด(มหาชน) การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) จำนวน 1,200 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของทาโร ขามาเน่ จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม แบบบมาตรประมาณค่าของลิเคิร์ท สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิตจำกัด (มหาชน) อยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) เมื่อเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ รายได้ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน และหน่วยงานที่สังกัด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ด้านความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานกับระดับผลการปฏิบัติงาน พบว่า มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับสูง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด--พนักงาน--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | พนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทกรุงเทพประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting employees performance at Bangkok Life Assurance PLC | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the level of performance of Bangkok Life Assurance PLC employees; (2) to study factors affecting performance of Bangkok Life Assurance PLC employees; (3) to compare performance of Bangkok Life Assurance PLC employees, distinguished by personal aspects; and (4) to study the relationship between factors affecting performance and level of performance of Bangkok Life Assurance PLC employees. The population using in this survey study was 1,200 Bangkok Life Assurance PLC employees. Derived from the calculation according to Yamane’s formula, the 300 samples were obtained. The research instrument was a Likert’s questionnaire. The statistical procedures for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, Oneway ANOVA, and Pearson’s correation coefficient. The results of this study found that: (1) performance was at the high level; (2) the overall factors affecting performance were at the high level; (3) comparing performance distinguished by personal aspects, we found that gender, age, income, work experience, position, and work division were significantly different at 0.05; and (4) the relationship between factors affecting performance and levels of performance was in the same direction and at the high level | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_132301.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.3 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License