Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/913
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัควดี ผลพฤกษา, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T04:12:20Z-
dc.date.available2022-08-23T04:12:20Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/913-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อ 1) ประเมินระบบการจัดการการเผยแพร่สารสนเทศ 2) เปรียบเทียบ ระบบการจัดการด้านการเผยแพร่สารสนเทศ 3) ศึกษาปัญหาการจัดการด้านการเผยแพร่สารสนเทศ 4) ประเมิน กระบวนการเผยแพร่สารสนเทศ และ 5) เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนในการรับสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของหน่วยงานรัฐสังกัด 4 กระทรวงหลักในจังหวัดชุมพรจำแนกตามระดับการศึกษาและอาชีพ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คึอ กลุ่มที่ 1 คือ หัวหน้ากลุ่ม งานและผู้ปฏิบัติที่สังกัด 4 กระทรวงหลักในจังหวัดชุมพรโดยใชัวิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 81 คน กลุ่มที่ 2 คือ ประชากรในจังหวัดชุมพร ใชัวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครึ่องมือที่ใชั ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 2 ชุด คือ สำหรับผู้เผยแพร่สารสนเทศและผู้รับ สารสนเทศ สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เผยแพร่สารสนเทศส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในการจัดการด้านการเผยแพร่ สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีการแจ้งวัตถุประสงค์และนโยบายการเผยแพร่สารสนเทศไวัอย่าง ชัดเจนและสามารถนำใปสู่การปฏิบัติได้จริง และสารสนเทศมีขอบเขตเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2) ผู้เผยแพร่สารสนเทศที่สังกัดกระทรวงต่างกัน มีการจัดการด้านการเผยแพร่สารสนเทศแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3) ผู้เผยแพร่สารสนเทศส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาในการจัดการ ด้านการเผยแพร่สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้เผยแพร่มีปัญหาด้านสถานที่และอุปกรณ์อำนวย ความสะดวก มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 4) ผู้รับสารสนเทศส่วนใหญ่ประเมินกระบวนการเผยแพร่สารสนเทศโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง โดยด้านผลของการเผยแพร่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด และ 5) ผู้รับสารสนเทศส่วนใหญ่มีความพึง พอใจต่อการเผยแพร่สารสนเทศโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความพึงพอใจต่อกระทรวงสาธารณสุขมีค่า เฉลี่ยสูงที่สุด และประชาชนที่มีการศึกษาและอาชีพต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการเผยแพร่สารสนเทศเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนในจังหวัดชุมพรไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectการแพร่กระจายข้อมูลth_TH
dc.titleการประเมินระบบการเผยแพร่สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนในจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe evaluation of information dissemination system for developing people's quality of life in Chumphon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: 1) evaluate the managerial system of information dissemination; 2) compare the managerial system of information dissemination; 3) study the problems of managerial system of information dissemination; 4) evaluate the procedures of information dissemination; and 5) compare information receivers’ satisfaction of information received in terms of people’s life quality development of 4 government ministries in Chumpbon Province, classified by educational levels and careers. This survey research based on data gathered from 2 groups of samples: Group I consisted of 81 working people as head and operations-level employees which are in charged in 4 government ministries in Chumpbon Province, chosen through purposive sampling; Group 2 consisted of400 residents of Chumpbon Province chosen through multi-level sampling. Dato were collected using 2 sets of questionnaires, for Group 1 and Group 2. Dato were analyzed using percentages, means, standard deviation and Or-Way ANOVA. The results showed that I) The majority of information dissemination workers had a medium level opinion of the management of the information dissemination systems. They agreed that the objectives and policies were clearly stated and practicable. The largest number agreed that the extent of the content fit with the objectives. 2) There was a statistically significant difference (p>.05) in information dissemination system management at different ministries. 3) The majority of information dissemination workers had a medium level opinion of the problems of the systems. The most significant problems were with place and equipment ๒ information dissemination and the use of technology. 4) The majority of information receivers gave a medium score in evaluating the information dissemination procedures and gave the highest score for result in the information dissemination 5) The majority of information receivers were highly satisfied with the information dissemination systems overall and gave the highest score for the system of the Ministry of Public Health. There was no statistically significant difference in satisfaction with the information dissemination systems among people with different and different levels of educationen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (6).pdfเอกสารฉบับเต็ม5.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons