Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9158
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพอค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไปรยา มีก่ำ, ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T04:45:05Z-
dc.date.available2023-08-28T04:45:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9158en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ศึกษาปัญหาการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศไทยกับประเทศนิวซีแลนด์และประเทศออสเตรเลีย 4) หาแนวทางการแก้ไข ปรับปรุงการนำมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญามาใช้กับเด็กและเยาวชนให้มีความชัดเจน และเหมาะสมมากยิ่งขึ้น การศึกษาก้นคว้าอิสระนี้ เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร ด้วยการรวบรวมข้อมูล จากหนังสือ ตำรา วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารทางวิชาการ การค้นคว้า ทางสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตและจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ผลการศึกษา พบว่า มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามกฎหมายว่าด้วย พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว มีการกำหนดผู้เข้าร่วมในการประชุมเพื่อจัดทำแผนฯ การกำหนดความผิดที่สามารถเข้าสู่กระบวนการเบี่ยงเบน คดีการพิจารณาในสำนึกในการกระทำของเด็กหรือเยาวชนที่กระทำความผิดยังไม่มีความชัดเจนและเหมาะสม โดยเห็นว่าควรมีการเชิญเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าร่วมประชุมในการจัดทำแผนกำหนด ประเภทของความผิดที่สามารถเข้าสู่กระบวนการเบี่ยงเบนคดีตามมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาให้มีความชัดเจน และกำหนดความหมายของการสำนึกในการกระทำไว้ให้ชัดเจน และเป็นรูปธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาของเด็กและเยาวชนตามกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeSpecial measure in replacement of criminal proceedings for children and juveniles under law of juvenile and family court and its procedure acten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study concepts and theories of the application of special measure in replacement of criminal proceedings for children and juveniles, to study the problems of the application of special measure in replacement of criminal proceedings for children and juveniles, to conduct comparative study on relevant laws and legal measures of Thailand, New Zealand and Australia, and 4) to find more obvious and proper corrective and improving guideline for application of special measure in replacement of criminal proceedings with children and juveniles. This independent study is the qualitative research through documentary research from data collection from books, textbooks, journals, articles, thesis, research reports, academic documents, information search on internet and from other sources of data. The finding of the studying found that the special measures in replacement of the criminal proceedings under the Juvenile and Family Court Act are unobvious and improper in terms of the participants who responsible for preparing the Plan, the defining the offense that can lead to the process of diversion and also the meaning of become aware of the guilt of juvenile offenders were not clear. Researcher suggest that the Police officers should be invited to participate in preparing the Plan and to determine the types of offenses that could lead to the process of diversion in replace of criminal case and to definite the meaning of become aware of the guilt clearly and substantiallyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158652.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons