กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/915
ชื่อเรื่อง: นัยทางการเมืองของศาลเจ้าจอมนรินทร์
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Political significance of the Chao Jom Narin Shrine
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษา
รุ่งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษ
จารึก เหล่าประเสริฐ, 2504-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์
อุดมการณ์ทางการเมือง
ชาตินิยม -- ไทย
ศาลเจ้า -- ไทย -- ขอนแก่น
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หานัยทางการเมืองจากศาลเจ้าจอมนรินทร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการวิเคราะห์เชิงตีความเพื่อค้นหานัยทางการเมืองของศาลเจ้าจอมนรินทร์ ผลการวิจัยพบว่า ศาลเจ้าจอมนรินทร์เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกพระยานรินทร์ อดีตเจ้าเมืองหนองบัวลำภู ในสมัยร้ตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งในเวลานั้นเมืองหนองบัวลำภู เป็นหัวเมืองลาวที่มีฐานะเป็นประเทศราชสยาม ปรากฎการณ์หลายๆ อย่างที่เกิดขึ้น ทั้งการริเริ่มก่อสร้างรูปปั้น ชื่อเจ้าจอม สถานที่ตั้ง คำยกย่องเชิดชู พิธีกรรมสักการะ และการบูรณะ เป็นการแสดงออกชองผู้คนในพื้นที่ เพื่อยกย่องเชิดชูพระยานรินทร์ ในฐานะผู้นำที่มีความกล้าหาญ ซื่อสัตย์ เสียสละ จงรักภักดี แต่เพื่อให้การยกย่องพระยานรินทร์เป็นไม่ไนลักษณะที่สอดคล้องหรือไม่ขัดกับความเป็นเอกภาพและความเป็นรัฐไทย ทำให้ไม่มีการยกสถานะศาลเจ้าจอมนรินทร์ขึ้นเป็อนุสาวรีย์
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/915
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Thesbib108607.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons