Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9160
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวนีย์ อัศวโรจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปิยาภรณ์ เจริญไชย, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-28T06:42:55Z | - |
dc.date.available | 2023-08-28T06:42:55Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9160 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีหลักการดำเนินคดีอาญา และวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตลอดจนมาตรการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจการดำเนินคดีอาญาของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือเรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ป.ป.ช.” ในการไต่สวนข้อเท็จจริงและมีมติวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองรำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ตามร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ.... ผลการศึกษาพบว่า การฟ้องคดีเองของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งเป็นผู้แสวงหาข้อเท็จจริง รวบรวมพยานหลักฐาน และวินิจฉัยชี้มูลความผิดนั้นเป็นการใช้ดุลยพินิจเด็ดขาด ไม่มีการควบคุมตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ หากเปรียบเทียบกับประเทศสิงคโปร์ซึ่งกำหนดให้พนักงานอัยการเท่านั้นที่มีอำนาจพิจารณาฟ้องคดีต่อศาล ผู้เขียนจึงเสนอให้ แก้ไขเพิ่มเติมร่างฯ มาตรา 51โดยกำหนดให้พนักงานอัยการเข้าร่วมเป็นอนุกรรมการไต่สวนในคดี สำคัญเพื่อกลั่นกรอง ตรวจสอบ ถ่วงดุล อันจะเป็นการลดปริมาณคดีที่มีข้อไม่สมบูรณ์ และควรแก้ไขเพิ่มเติมร่างฯ มาตรา 66 โดยกำหนดให้หน่วยงานต่างๆ ที่รายงานผลการดำเนินงานจัดทำ ความเห็นว่าควรสั่งฟ้องหรือไม่ส่งไปพร้อมกับสำนวนให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติวินิจฉัย หากคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเห็นว่าข้อกล่าวหาใดมีมูลความผิดให้ส่งรายงานและความเห็นไปยังอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินคดีอาญาในศาลต่อไปเป็นการป้องกันมิให้ปฏิบัติหน้าที่ซํ้าซ้อนกัน อันเป็นการกระทบกระเทือนต่อสิทธิเสรีภาพขอผู้ถูกกล่าวหาหรือพยาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การดำเนินคดีของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ: ศึกษาอำนาจหน้าที่ตามร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ... | th_TH |
dc.title.alternative | Proceeding of the National anti-corruption commission (NACC): Studying on the Authority and power of the Organic Law bill on counter corruption | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study is to investigate the concepts, theories, principles related to criminal case proceedings and to analyze the problems of criminal case proceedings of persons holding political positions in accordance with The Organic Action Counter Corruption as well as to analyze the measures to examine the balance of power of criminal case proceedings of the National Anti-Corruption Commission (NACC). This independent study is the qualitative research by studying the power, authority and duties of the National Anti-Corruption Commission or “NACC” in investigating the facts and concluding the resolution for the allegations of political leaders’ abnormal wealth, fraudulent and corrupt action or willingly illegal exercise of authority contrary to the provisions of the Constitution of The Organic Law Bill on Counter Corruption The results of thisstudy indicated that power to conduct its own prosecution of NACC who works on fact finding and gathering witness and evidence, judges and points out grounds for guilt is absolute discretion without supervision, investigation, and checks and balances. In contrast, Singapore determines that only prosecutors have power to conduct prosecution to the court. The author should amend the draft in the section 51 by determining prosecutors to participate as being subcommittee in important cases so as to scrutinize, investigate, check and balance which can reduce numbers of cases with incomplete information. Besides, it is agreed to amend and add the draft in the Section 66 by determining organizations responsible for performance reporting to express their opinions to issue a prosecution order of issue a non prosecution order to be submitted with a docket to seek NACC’s judgment. If the charge has grounds for guilt, a report and opinion shall be submitted to Attorney General to conduct the case proceeding in the court accordingly so as to prevent double jeopardy as it can affect right and liberty of an accused person or witness. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_158654.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 45.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License