Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorนุชนารถ ศิริบูรณ์, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T05:49:15Z-
dc.date.available2022-08-23T05:49:15Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/916-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเข้มข้นของผิวที่เลตไฮดรอกซีโทลคีน (เอชพี) ที่ทำให้เกิดเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 170 องศาเซลเซียส ของไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ำมันถั่วเหลืองที่ผ่านกระบวนการทอดไก่ให้ได้มาตรฐาน (2) หาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของบีเฮช กับค่าความเป็นกรด ค่าเพอร์ออกไซด์และความหนืดจตน์ ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ของไบโอดีเซล (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาขอกซิเดชั่น ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส กับค่าความเป็นกรด ค่าเพอร์ออกไซด์และความหนืดจลน์ ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส (4) หาสมการทำนายเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส (5) หาความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียสของน้ำมันผสม (ระหว่างไบโอดีเซลและดีเซล) และอัตราส่วนของไบโอดีเซลในน้ำมันผสม และ (6) เปรียบเทียบความแตกต่างของเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ของน้ำมันผสมที่อัตราส่วนต่างๆ เมื่อเติมและไม่เติมบีเฮชทีในไบโอดีเซล การวิจัยนี้ดำเนินการทดลองโดยการวัดตัวแปรก่อนเติมและหลังเติมบีเอชทีในไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ำมันถั่วเหลืองที่ผ่านกระบวนการทอดไก่ โดยแบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 เป็นการทดสอบเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรด ค่าเพอร์ออกไซด์และความหนืดจลน์ ณ อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส ของไบโอดีเซลที่เต็มบีเอชทีที่ความเข้มข้น 0-0.5 % และการทดลองที่ 2 เป็นการทดสอบเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส ของน้ำมันผสมระหว่างไบโอดีเซลที่เต็มบีเอชทีที่ทำให้เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้มาตรฐาน (0.4 %) และน้ำมันดีเซลที่อัตราส่วนต่างๆ ดังนี้ 100, 0, 80:20, 60, 40, 40,60, 20:80 เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบหลักๆ ได้แก่ เครื่องแรนซิเมท เครื่องไทเทรดอัตโนมัติ และเครื่องไคนมาติดวิส โดมิเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน สมการถดถอยเชิงพหุ และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า (1) ความเข้มข้นของบีเอชทีที่ทำให้เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ให้ได้มาตรฐาน (ไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมง) คือ ความเข้มข้น 0.4-0.5 % (2) บีเฮชทีที่มีความสัมพันธ์กับค่าเพอร์ออกไซด์เชิงผกผันปานกลางและมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (3) เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส มีความสัมพันธ์กับค่าเพอร์ออกไซค์เชิงผกผันปานกลางและมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (4) ได้สมการทํานายเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 170 องศาเซลเซียส คือ Y = 44.92 1.52x โดยที่ 1 คือเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส และ x คือค่าเพอร์ออกไซด์ โดยสมการทำนายได้ถูกต้องเพียง 30.1 % และมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (5) ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ของน้ำมันผสมกับอัตราส่วนของไบโอดีเซลในน้ำมันผสมมีความสัมพันธ์เชิงผกผันสูงมากและมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และอัตราส่วนของไบโอดีเซลต่อเซลทําให้เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันดีที่สุดคือ 20:80 และ (6) เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ของน้ำมันผสมทั้งแบบเติมและไม่เติมบีเฮชทีในไบโอดีเซลให้ผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยแบบเติมบีเอชทีให้เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ณ อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียสสูงกว่าแบบไม่เติมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซลth_TH
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพของไบโอดีเซลที่ผลิตจากน้ำมันถั่วเหลืองที่ผ่านกระบวนการทอดไก่โดยใช้สารกันหืนth_TH
dc.title.alternativeEfficiency increase of biodiesel from soybean oil after chicken frying process by using of antioxidantth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this experimental research were : (1) to investigate Butylated hydroxy toluene (BHT) concentration generating oxidation stability at 110 °C of biodiesel from soybean oil after standard chicken frying process ; (2) to find correlation between concentration of BHT and acid value, peroxide value and kinematic viscosity at 40 °C ; (3) to find correlation between oxidation stability at 110 °C with acid value, peroxide value and kinematic viscosity at 40 °C ; (4) to find an equation predicting oxidation stability at 110 °C; (5) to find correlation between oxidation stability at 110 °C of mix oil (biodiesel and diesel) and ratio of biodiesel in mixed oil ; and (6) to compare difference of oxidation stability at 110 °C of mixed oil at various ratios of both with and without BHT in biodiesel. This research was determined before and after addition of BHT in biodiesel from soybean oil after chicken frying process and was divided into 2 experiments including 1) test oxidation stability at 110 °C> acid value, peroxide value and kinematic viscosity at 40 °C of biodiesel with BHT at concentration of 0-0.5%, and 2) test of oxidation stability at 110 °C of mix oil between biodiesel with BHT generating standard oxidation stability at 110 °C (0.4 %) with diesel at various concentration ratios of 100 : 0,80 : 20,60 : 40,40 : 60,20: 80. The main experiments equipments were Rancimat, Titration Automation and Kinematic Viscometer. Data were analyzed as mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, multiple regression analysis, and pair t - test. The results of the research were that ; (1) BHT at concentration of 0.4 -0.5 % affecting oxidation stability at 110 °C (not less than 6 hours) of biodiesel from soybean oil after standard chicken frying process; (2) BHT had moderate negative correlation with peroxide with statistically significant level at .01 ; (3) oxidation stability at 110 °C had moderate negative correlation with peroxide value with statistically significant level at .01 ; (4) the predict equation was Y = 44.92 -1.52 X , by Y was oxidation stability at temperature 110°C and X was peroxide value with equation could predict with accuracy of 30.1 % and with statistically significant level at .01 ; (5) negative correlation between oxidation stability at 110 °C of mix oil and ratio of biodiesel in mix oil were found with statistically significant level at .01. The ratio of mix oil (biodiesel : diesel) generating best oxidation stability was 20:80; and (6) oxidation stability at 110 °C of mix oil between biodiesel at with and without BHT in biodiesel was significant different with significant level at .01. In other word, oxidation with BHT caused higher oxidation stability at 110 °C than without BHTen_US
dc.contributor.coadvisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114790.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons