Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวี สุรฤทธิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจำรูญ กุญชรโพธิ์สกุล, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T05:57:01Z-
dc.date.available2022-08-23T05:57:01Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/917-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กระบวนการตัดสินใจในการจัดทำ เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2551 และการจัดทำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีพ.ศ.2552 ของเทศบาลตำบลเวียงมอก (2) ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจในการจัดทำเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2551 และการจัดร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2552 ของเทศบาลตำบลเวียงมอก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเจาะจง คือ ผู้บริหารเทศบาล จำนวน 2 คน สมาชิกสภาเทศบาล จำนวน 4 คน เจ้าหน้าที่และพนักงานประจำเทศบาล จำนวน 17 คน และกลุ่มประชาสังคม จำนวน 14 คน รวมทั้งสิ้น 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการตัดสินใจออกเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี เรื่มจากฝ่ายบริหารใช้อำนาจทางการเมืองกำหนดนโยบาย โดยกำหนดวงเงินจัดสรรงบประมาณในงานบริหารทั่วไปที่เป็นงานราขการประจำก่อน และเงินงบประมาณที่เหลือนำไปจัดสรรให้กับหมู่บ้านตามขนาดของหมู่บ้าน โดยแบ่งขนาดหมู่บ้านออกเป็น 3 ขนาด ได้แก่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ และให้หมู่บ้านจัดทำประชาคมเพื่อเสนอโครงการขอรับงบประมาณตามวงเงินที่ บริหาร กำหนดและผ่านกระบวนการพิจารณาของสภาเทศบาล ออกเป็นเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และ (2) ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจในการจัดทำเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาลตำบลเวียงมอก คือ ปัจจัยภายนอกได้แก่ ภาคประชาสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบัญญัติ -- ไทย -- ลำปางth_TH
dc.subjectเทศบัญญัติ -- การตัดสินใจth_TH
dc.subjectงบประมาณ -- การจัดการth_TH
dc.subjectเทศบาล -- ไทย -- ลำปางth_TH
dc.titleกระบวนการตัดสินใจออกเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล : กรณีศึกษาเทศบาลเวียงมอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeกระบวนการตัดสินใจออกเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล : กรณีศึกษาเทศบาลเวียงมอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปางth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study (1) the decision-making process of Wiangmok Subdistrict Municipality in setting the municipality’s annual budgets for 2008 and 2009; (2) factors that affected the decision-making process of Wiangmok Subdistrict Municipality in setting the municipality’s annual budgets for 2008 and 2009. The sample, chosen through purposive sampling, consisted of 2 administrators of Wiangmok Subdistrict Municipality, 4 members of the Wiangmok Subdistrict Municipal Council, 17 regular employees of Wiangmok Subdistrict Municipality, and 14 representatives of civil society groups, totaling 37 people. Data were gathered using interview forms, focus group and analyzed descriptively. The results showed that (1) the decision-making process to set the annual budget started with the municipal administrators using their political power to set the policy. They first set the amount of money to be allocated for administrative work that is regular government work and the remainder of the budget money available was allocated to different villages in proportion to their size. The villages were divided into 3 sizes: small, medium and large. Each village was instructed to set up a community center to propose projects for which the village would request a budget within the amount of money it was allocated. The Municipal Council would then consider the project proposals and issue a decree to set the annual budget. (2) The major factor that affected the decision-making process of Wiangmok Subsiatrict Municipality in setting the municipality’s annual budgets was the external factor of civil society groupsen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib110032.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons