Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9185
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | พิทักษ์ สุดใจ, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-28T08:36:58Z | - |
dc.date.available | 2023-08-28T08:36:58Z | - |
dc.date.issued | 2554 | en_US |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9185 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของลูกค้าร้านสะดวกซื้อ ในเขตอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ (2) ส่วนประสมการตลาดของร้านสะดวกซื้อตามความคิดเห็นของลูกค้าและ (3) หาความถี่ของผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้าเลือกซื้อบ่อยที่สุด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือ ลูกค้าที่ซื้อผลิตภัณฑ์จากร้านสะดวกซื้อ ในเขตอำเภอเชียงดาวจังหวัดเชียงใหม่โดยกำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 400ตัวอย่างมีวิธีการเก็บ ตัวอย่างโดยไม่อาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบตามสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด อายุ ระหว่าง 21-30ปี ประกอบอาชีพรับราชการ มีรายได้เฉลี่ย 5,001-10,000 บาทต่อเดือน (2) ลูกค้ามี ความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ต้องมีคุณภาพ ด้านราคาแม้ราคาจะสูงกว่า ในห้างเล็กน้อยก็ยอมรับได้ ด้านสถานที่ต้องอยู่ในทำเลที่สะดวก ด้านส่งเสริมการตลาดเน้นการ โฆษณาผ่านสื่อเป็นสำคัญ ด้านบุคลากรต้องมีจำนวนที่เพียงพอ ด้านลักษณะทางกายภาพต้อง สะอาด เรียบร้อย และจัดเรียงผลิตภัณฑ์เป็นหมวดหมู่ และด้านกระบวนการต้องรวดเร็วและลูกต้อง ณ จุดชำระเงิน และ (3) ผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคซื้อบ่อยที่สุด คือ ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารสำเร็จรูป ประเภทฟาสต์ฟู้ด รองลงมาคือ อาหารแห้ง/ของขบเคี้ยว และนํ้าผลไม้ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ร้านค้าสะดวกซื้อ--ไทย--เชียงใหม่ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การจัดการตลาด | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของร้านสะดวกซื้อในเขตอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Opinion customers toward marketing mix of convenience stores in Chiang Dao Distirct, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study: (1) personal characteristics of customers at convenience store in Chiang Dao District, Chiang Mai Provence; (2) marketing mix of convenience stores by customers opinion and; (3) to find the highest frequency of product that customers bought most from convenience store. The study was a survey research. The population was customers who bought products from convenience stores in Chiang Dao District, Chiang Mai Province. A total of 400 customers were selected by convenient sampling. The research tool was a questionnaire. The statistics for data analysis was frequency, percentage, mean, standard deviation; and Chi-square test. The findings of this research, were that: (1) most of samples were female, single, 21-30 years old, government employees, monthly income of 5,001-10,000 baht; (2) the opinion of customers toward marketing mix of convenience stores was follows: quality of product, higher price than department store was accepted, convenience location, advertising through media was important, enough service persons, clean place and sort items into groups, and process was not slow at cashier point; and (3) The frequency of products that customers bought from convenience store was fast food follow by dry food/snack and fruit juice, respectively | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_130040.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License