Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิสุทธิ์ ศรีอนันต์, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T08:44:08Z-
dc.date.available2023-08-28T08:44:08Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9187en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบธุรกิจสู่ผู้บริโภคที่ได้รับเครื่องหมายรับรอง ความน่าเชื่อถือและ (2) เปรียบเทียบความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบธุรกิจสู่ผู้บริโภคที่ได้รับเครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ จำแนกตามทุน ดำเนินการรูปแบบการพัฒนาเว็บไซต์และจำนวนพนักงาน ประชากรได้แก่ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบธุรกิจสู่ผู้บริโภคที่ได้รับ เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ จำนวน 127 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างจำนวน 97 ราย โดยใช้สูตร ของเทโร ยามาเน่เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถามแบบ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถทางการ แข่งขันทุกด้านอยู่ในระดับมาก และ (2) ผู้ประกอบการที่มีจำนวนทุนดำเนินการมากกว่า 300,000 บาท มีความสามารถทางการแข่งขันต้านกลยุทธ์และด้านโครงสร้างสูงกว่าผู้ประกอบการที่มีทุน ดำเนินการอยู่ระหว่าง 100,000 ถึง 200,000 บาท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีการพัฒนาเว็บไซต์โดยมีทีมพัฒนาเอง มีความสามารถ ทางการแข่งขันด้านโครงสร้าง ด้านระบบ ด้านบุคลากร และด้านทักษะ สูงกว่าผู้ประกอบการที่ พัฒนาเว็บไซต์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทีมีจำนวนพนักงานต่างกันมีความสามารถทางการแข่งขันไม่ ต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความสามารถในการแข่งขันth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบธุรกิจสู่ผู้บริโภคที่ได้รับเครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือth_TH
dc.title.alternativeCompetitiveness competency of department of business development verified B2C E-commerce entrepreneuren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study competitiveness competency of Department of Business Development verified B2C E-commerce entrepreneur and (2) to compare competitiveness competency of Business Development verified B2C E-commerce entrepreneur based on capital, website development methodologies and number of employees. The population consisted of 127 B2C E-commerce entrepreneurs verified by Department of Business Development and 97 entrepreneurs based on Taro Yamane’s formula were simple random sampled. Data were collected by using questionnaires and analyzed as percentage, arithmetic mean, standard deviation, ANOVA and the Scheffe’s method. The findings were that: (1) the verified B2C E-commerce entrepreneurs had high level of competitiveness competency in all aspects and (2) the E-commerce entrepreneurs who had capital more than 300,000 bath had better competitiveness competency in the aspect of strategy and structure than those who had capital between 100,000-200,000 bath with statistically significant difference of .05. The entrepreneurs who developed website by their own web development team had better competitiveness competency in the aspect of structure, system, staff and skill than those who developed website by builder software with a significantly difference of .05 while the number of employees were not significanten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128333.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons