Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญศรี สาระวัน, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T01:54:12Z-
dc.date.available2023-08-29T01:54:12Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9192en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงพยาบาลตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (2) ศึกษาปจชัยลักษณะองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลตาคลี ขังหวัดนครสวรรค์ (3) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลตาคลี ชังหวัดนครสวรรค์ (4) เสนอแนะแนวทางในการเพิ่มระดับ ประสิทธิภาพการปฏิป่ติงานของบุคลากร โรงพยาบาลตาคลี ชังหวัดนครสวรรค์ ประชากรในการศึกษา คือ บุคลากร ของทุกสายงานที่ปฏิบัติงานประจำโรงพยาบาลตาคลี ชังหวัด นครสวรรค์กลุ่มตัวอย่างใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี และมอร์แกน จำนวน 175 คน เครื่องมือที่ใชัในการวิชัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ส่าร้อยละ การหาส่าเฉลี่ย ส่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และส่า สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลตาคลี จังหวัด นครสวรรค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้รับบริการรองลงมาได้แก่ ด้านคุณภาพ ด้านนวัตกรรม และต้านประสิทธิภาพ (2)ปัจจัยลักษณะองค์การส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงพยาบาลตาคลี ขังหวัดนครสวรรค์ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือด้านลักษณะงานและบรรยากาศการทำงาน รองลงมาได้แก่ ด้านการบริหารงานและภาวะผู้นำ ด้านความยุติธรรมในหน่วยงาน และด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ (3) การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ปัจจัยลักษณะองค์การ กับ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ บุคลากรโรงพยาบาลตาคลี ชังหวัดนครสวรรค์ พบว่า ด้านความยุติธรรมในหน่วยงานต้านการบริหารงานและ ภาวะผู้นำ ด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันในระดับปานกลาง และ ด้านลักษณะงานและบรรยากาศการทำงาน มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ในระดับค่อนข้างมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (4) การทดสอบสมมติฐาน พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มี เพศ อายุ ระยะเวลาการ ปฏิบัติงานสายงานนี้ และสถานภาพการสมรส แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่ แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่มี ระดับการศึกษา สายงานตำแหน่งงาน และกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ แตกต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลตาคลี จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting efficiency performance of staff in Takhli Hospital Nakhonsawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the level of efficiency performance of staff in Takhli Hospital, Nakhonsawan Province. (2) to study the organization factors that affect performance of Takhli Hospital , s staff (3) personal characteristics factors that affect efficiency performance. (4) to suggest a guideline for increasing performance level of staff. The population was all staff that work in Takhli Hospital,Nakhonsawan Province. Random sampling of 175 sample from every position staff using a questionnaire as a tool to collect data. The statistic used to analyzed the datas were percentage mean and standard deviation. Test the hypothesis by the t-test , one way analysis of variance, Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of this study are as follows: 1) Efficiency performance of staff in Takhli Hospital, Nakhonsawan Province in overall was at a high level in every aspect. The highest average aspect was the customer response. Quality Innovation and Efficiency aspect was at a moderate . 2) The Organization factors that affect efficiency performance of staff in Takhli Hospital, Nakhonsawan Province in overall was at high level in every aspect . The highest average level were job and working environment . Management leadership the justice welfare and benefit were subordinate . 3) Comparison the relationship between the organization factors and efficiency performance of staff in Takhli Hospital, Nakhonsawan Province. The organization factors correlated with efficiency performance . The justice ,management ,leadership, welfare and benefit correlated in positive direction at a moderate level statistics significant of 0.01. Job and working environment correlated in positive direction at a high level statistics significant of 0.01 4) To test the hypothesis found that samples with different gender, age ,duration of work in this position and marital status had an opinion about efficiency performance in overall of every aspect not different. The Samples with different education level and position level had an opinion about efficiency performance in overall of every aspect are different statistic significant of 0.05 . The Samples with different revenue had an opinion in overall of every aspect are different statistic significant of 0.01.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130353.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons