Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาวิณี ไชยตัน, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T02:16:47Z-
dc.date.available2023-08-29T02:16:47Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9195en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสำคัญต่อพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต่ 15ปืขึ้นไป ที่ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ จำนวน 400 คน โดยสุ่ม ตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อถือได้ 0.91 สถิติที่ ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า(1)กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอยู่ในช่วงอายุ 15-25ปีมีระดับ การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและปริญญาตรี ซึ่งเป็นนักศึกษาและพนักงานบริษัท ส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ ในช่วง 10,000 ถึง 20,000 บาท ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์เครื่องเดียว แบบระบบเติมเงินโดยใช้ค่ายเอไอเอส รองลงมาเป็น ทรูมูฟ และดีแทค ตามลำดับ ค่าใช้จ่ายในการใช้โทรศัพท์มือถือต่อเดือนส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 300-500บาท โดยใช้ทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว ส่วนใหญ่ผู้บริโภคเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจเสือกใช้โทรศัพท์มือถือคือครอบครัว รองลงมาคือ เพื่อนฝูง ช่วงเวลาที่ใช้จะไม่แน่นอน กิจกรรมที่นิยมใช้ที่สุดคือสังคมออนไลน์ปัญหาที่มักพบคือความเร็วในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือ (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสำคัญต่อพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตผ่าน โทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครในระดับมาก โดยให้ความสำคัญทางด้านผลิตภัณฑ์ สูงสุด รองลงมาคือ ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านราคา (3) ข้อมูลส่วนบุคคลทางด้านระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ อายุ และสภานภาพสมรส มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ ทางด้านจำนวนเครื่อง ระบบการชำระเงิน ค่าใช้โทรศัพท์มือถือต่อเดือน ผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายการใช้โทรศัพท์มือถือ และผู้ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอินเทอร์เน็ต--การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่--พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMobile internet usage behaviors of consumers in Bangkok Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study has purposes to study: (1) mobile internet usage behavior; (2) marketing mix factor that was important to mobile internet usage behavior; and (3) the relationship between the personal data and the mobile internet usage behavior This study was a survey research. The samples of this research were 400 consumers in Bangkok area, aged over 15 year-old, who used mobile internet and with convenient sampling. The research tool was a questionnaire with reliability of 0.91. Statistics for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi-square test. Results of the research were that: (1) most of the samples were females, aged range from 15 – 25 year-old, undergraduates to graduates, students and private companies’ employees whose income range from 10,000 – 20,000 Baht. Most of them own one mobile phone with prepaid service by AIS network provider, followed by True move and DTAC, respectively. Mobile phone bill per month ranged from 300 – 500 baht. The mobile phone usages were for both business and private matters. They were responsible for their own mobile phone bills. The influences on mobile phone uses were family, and followed by friends. Time ranges of usages were indefinite. The most popular activity was social network. The regular problem was the speeds of mobile internet; (2) marketing mix factor was important to the consumers in Bangkok area at the high level, which was the products, followed by the distribution, the marketing promotion, and the prices;(3) the personal data on the level of education, income, occupation, age and marital status were related to mobile internet usage behavior on mobile phone numbers, payment system, the mobile phone cost, responsible person for the mobile phone bill, and their influences on mobile phone usesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_130043.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons