Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9198
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาศรี พงศ์ธนาพาณิชth_TH
dc.contributor.authorมลิฉัตร บุญจารุพัฒน์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T02:33:17Z-
dc.date.available2023-08-29T02:33:17Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9198en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลี ของผู้บริโภคหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร (2) การสื่อสารทางการตลาดที่ผู้บริโภคหญิงในเขต กรุงเทพมหานคร ใช้ในการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลี (3) ความสัมพันธ์ของเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลีของผู้บริโภคหญิงในเขต กรุงเทพมหานครวิธีการดำเนินการวิจัยใช้วิธีการสำรวจ โดยการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล ประชากร คือ ผู้บริโภคหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาด ตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ Taro Yamane ที่ระดับมีนัยสำคัญ 0.05 ได้ขนาดตัวอย่าง 400 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวกผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุในช่วง 25-30ปี ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถานภาพโสด อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 10,000-20,000 บาท (1) ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนมากใช้เครื่องสำอางเพื่อเพิ่มความมั่นใจและตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดย ประเทศเกาหลีเนื่องจากมีคนรู้จักชักชวน ส่วนมากใช้เครื่องสำอางยี่ห้อ skin food ซื้อเครื่องสำอางด้วย ตนเองและซื้อเครื่องสำอางครั้งละ 1 ชิ้น (2) ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับเครื่องมือสื่อสาร การตลาดในด้านการโฆษณาผ่านเว็บไซต์หรือบล็อกต่างๆ มากที่สุด ด้านการขายโดยบุคคลให้ความสำคัญ กับพนักงานขายมากที่สุด ด้านการส่งเสริมการขายให้ความสำคัญกับการลดราคามากที่สุด ด้านการประชาสัมพันธ์ให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมขายพิเศษมากที่สุด ในด้านการตลาดทางตรงให้ความสำคัญกับการแนะนำสินค้ามากที่สุด (3) พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลีมีความสัมพันธ์กับเครื่องมือสื่อสารการตลาดด้านเหตุผลที่ใชัเครื่องสำอาง ด้านผู้ที่ซื้อเครื่องสำอาง ด้าน จำนวนชิ้นในการซื้อ ด้านช่องทางการซื้อ ด้านช่องทางการรู้จักเครื่องสำอาง ด้านกระแสนิยม และ พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลีไม่มีความสัมพันธ์กับเครื่องมือสื่อสารการตลาด ด้านตรายี่ห้อเครื่องสำอางกับการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องสำอาง--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.titleการสื่อสารทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางที่ผลิตโดยประเทศเกาหลีของผู้บริโภคหญิง ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing communication related to the Korean's cosmetic buying behavior of female customer in Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127710.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons