Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth_TH
dc.contributor.authorปนัดดา ปัญเจริญ, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T02:38:19Z-
dc.date.available2023-08-29T02:38:19Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9199en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด ความหมาย ทฤษฎีในความผิดเกี่ยวกับการกระทำความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบน 2) ศึกษาทฤษฎีการลงโทษมาตรการบังคับทางอาญาในความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงานเรียกรับสินบน 3) ศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตต่อตำแหน่งหน้าที่ในกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ และ 4) ศึกษาหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบน เพื่อนำมาปรับใช้กับประเทศไทยการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล จากตัวบทกฎหมายหนังสือ เอกสารทางวิชาการทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ บทความทางวิชาการ ตำราวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คำพิพากษาศาลฎีกาและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับการเรียกรับสินบน ผลการศึกษาพบว่า 1) ทำให้ทราบแนวความคิด ความหมาย ทฤษฎี ในความผิดเกี่ยวกับการทุจริตต่อตำแหน่งหน้าที่ 2) ทราบทฤษฎีการลงโทษมาตรการบังคับทางอาญาในความผิดต่อหน้าที่ 3) ทราบถึงมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตต่อตำแหน่งหน้าที่ทั้งในกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ และ 4) ได้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความผิดการทุจริตต่อตำแหน่งหน้าที่ เพื่อนำมาปรับใช้กับประเทศไทย โดยผลการศึกษาผู้ศึกษาเสนอให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบนตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 149 แห่งประมวลกฎหมายอาญาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโทษประหารชีวิตth_TH
dc.subjectสินบน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการยกเลิกโทษประหารชีวิตในความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบนth_TH
dc.title.alternativeAbolition of capital punishment in the offence of the official’s bribery demanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is 1) to study the concept, meaning and theory in the offence relating to the offence of the official’s bribery demand, 2 ) to study a theory of punishment and a criminal execution measure for the offence relating to the official’s bribery demand, 3 ) to study a legal measure relating to the malfeasance in Thai laws and foreign laws, and 4) to study and find the conclusions and suggestions for revising laws relating to the offence of the official’s bribery demand, for application with Thailand. This independent study is a qualitative research by documentary research method. The data was studied, searched and collected from the articles of law, books, academic papers both in Thai language and foreign language, academic journals, textbooks, thesis, research reports, electronic media, judgment of the supreme court, and other relevant documents of the bribery demand. The finding of the study indicated 1 ) an awareness of the concept, meaning, and theory in the offence relating to malfeasance, 2) an awareness of the punishment theory and criminal execution measure for malfeasance, 3 ) an awareness of the legal measure relating to malfeasance both in Thai laws and foreign laws, and 4 ) conclusions and suggestions for revising the laws relating to the offence of malfeasance, for application with Thailand. According to the studying result, the researcher has proposed to abolish the death penalty in the offence of the official’s bribery demand as prescribed in Section 149 of the Criminal Code.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161860.pdf11.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons