Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวี สุรฤทธิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุนารีรัตน์ นวลละออง, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T06:07:18Z-
dc.date.available2022-08-23T06:07:18Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/919-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา (1) สาเหตุและความเป็นมาที่นำไปสู่การจัดตั้งกลุ่มคนรักเมืองเพชร (2) โครงสรัาง ลักษณะ กระบวนการ อุทธศาสตร์ ของกลุ่มคนรักเมืองเพชร (3) บทบาทและการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนรักเมืองเพชร (4) ผลกระทบจากการจัดตั้งกลุ่มคนรักเมืองเพชร (5) ปัจจัยส่งเสริมหรือสนับสมุน และปัจจัยที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคของการรวมกลุ่มคนรักเมืองเพชรการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และ เอกสาร ประชากร ได้แก่ แกนนำ ทั้ง 37 กลุ่มแกนของกลุ่มคนรักเมืองเพชร จำนวน 49 คน วิเคราะห์ และ นำเสนอข้อมูลแบบพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) สาเหตุและความเป็นมาที่นำไปสู่การจัดตั้งกลุ่มคนรักเมืองเพชร ได้แก่ความต้องการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้แก่ท้องถิ่นและจังหวัดเพชรบุรีร่วมกัน การพัฒนาของภาครัฐที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบุรี และ กระแสแนวคิดเรื่องประชาสังคมของนักวิชาการ (2) โครงสรัางของกลุ่มคนรักเมืองเพชร เป็นองค์กรประชาสังคมแบบแนวราบ ลักษณะประชาสังคมของ กลุ่ม มีความหลากหลาย มีความเป็นชุมชน มีสำนึกสาธารณะ มีกิจกรรมและความต่อเนื่อง มีเครือข่ายและ การติดต่อสื่อสาร กระบวนการพัฒนาการของกลุ่มมี 3 ขั้นตอนได้แก่ 1) การเกิดจิตสำนึกระดับสังคม 2) การเกิดกลุ่มองค์กรทางเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ 3) การก่อรูปของอุดมการณ์ร่วมของสังคม และ ยุทธศาสตร์ของกลุ่ม เน้นการประชุมแบบเสวนา เพื่อพิจารณาประเด็นปัญหาร่วมกัน (3) บทบาทของกลุ่มได้แก่ การพัฒนาความเป็นพลเมือง เป็นขบวนการการเมืองภาคพลเมือง และเป็นกลไกการพัฒนาสังคม (4) ผลกระทบจากการจัดตั้งกลุ่มคนรักเมืองเพชร ได้แก่ ทำให้ภาครัฐต้องปรับการใช้อำนาจหน้าที่ในการ สั่งการ และส่งผลให้เกิดกลุ่มองค์กรภาคประชาชนต่างๆ มากมาย (5) ปัจจัยที่ส่งเสริมหรือสนับสนุนของการรวมกลุ่มคนรักเมืองเพชร ได้แก่ แกนนำเป็นผู้มีชื่อเสึยงและมีความคุ้นเคยกับคนในกลุ่มมาก่อน ปัจจัยที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคของการรวมกลุ่มคนรักเมืองเพชร ได้แก่ รัฐครอบงำสื่อ ส่งผลให้ประชาชนขาด องค์ความรู้ด้านประชาสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประชาสังคม -- ไทย -- เพชรบุรีth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- เพชรบุรีth_TH
dc.subjectกลุ่มคนรักเมืองเพชรth_TH
dc.titleประชาสังคมในจังหวัดเพชรบุรีศึกษากรณีกลุ่มคนรักเมืองเพชรth_TH
dc.title.alternativeCivil society in Phetchaburi Province : a case study of the Khon Rak Muang Phetch Groupth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the background and reasons for founding the Khon Rak Muang Phetch group; (2) the structure, characteristics, processes, and strategies of the Khon Rak Muang Phetch group; (3) the role and movements of the Khon Rak Muang Phetch group; (4) the impact of the founding of the Khon Rak Muang Phetch group; and (5) supporting factors and detracting factors that affect the Khon Rak Muang Phetch group. This was a qualitative research based on data collected from interviews, participatory observation and documents. The sample population consisted of 49 people and 37 sample groups. Data were analyzed and presented in the form of descriptive analysis. The results showed that (1) the reasons that led to the founding of the Khon Rak Muang Phetch group were the desire to create good things for local community and Phetchaburi, development of the state affecting Phetchaburi’s economy, and civil society concepts of the academics. (2) The structure of the Khon Rak Muang Phetch group is that of a civil society organization with horizontal management. The characteristics of the group are that it is diverse; it is a community; it has public conscience; it has activities and continuity; and it has a network and communication. There are 3 steps to the development process: 1) the arising of society-level conscience, 2) the arising of economic and social organization groups, and 3) the formation of shared social ideals. The group’s strategies focus on discussion meetings to consider shared problems or issues, (3) The role of the group was to develop citizenship and the civil political movement and to act as a mechanism for social development. (4) The impact of the founding of the Khon Rak Muang Phetch group was that the government had to change the structure of how it wielded its power; citizens became more aware and other groups were formed. (5) The factor that supported the founding of the Khon Rak Muang Phetch group was that the group leader was well-known and familiar with members of the group. The factor that posed obstacles to the founding of the group was the government’s control of the media that led to people’s lack of knowledge about civil societyen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107677.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons