Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนวิภา วงรุจิระ | th_TH |
dc.contributor.author | พวงมาลัย ทีหนองสังข์, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-29T02:59:44Z | - |
dc.date.available | 2023-08-29T02:59:44Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9205 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การบริหารกิจการสื่อสาร)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพนักบริหารงานประชาสัมพันธ์ผ่านหลักสูตรนักบริหารงานประชาสัมพันธ์ระดับสูงของสถาบันการประชาสัมพันธ์ ในด้าน 1) กระบวนการ 2) ประสิทธิผล และ 3) แนวทางการพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการพัฒนาศักยภาพนักบริหารงานประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วยวิเคราะห์ความต้องการฝึกอบรมจากผู้เข้ารับการฝึกอบรมและผู้บังคับบัญชาที่เคยส่งบุคลากรในสังกัดเข้ารับการฝึกอบรม รวมถึงศึกษาแนวโน้มด้านการประชาสัมพันธ์ในช่วงเวลานั้น ด้านเนื้อหาหลักสูตรพบว่ามีประโยชน์สามารถนําไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านเจ้าหน้าที่ มีความรู้ความสามารถในงานที่ให้บริการอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านวิทยากร นําความรู้ และเทคนิคที่ทันสมัยมาถ่ายทอดได้อย่างเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ด้านสถานที่จัดฝึกอบรม มีสภาพแวดล้อมเอื้ออํานวยต่อการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านระยะเวลา ต้องการฝึกอบรมสัปดาห์ละ 3 วัน จํานวน 10 สัปดาห์ เพราะมีเวลากลับไปทํางานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ 2) ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นหลังสําเร็จการฝึกอบรม ในส่วนของผู้สําเร็จการฝึกอบรมพบว่า มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการถ่ายทอดงานไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างชัดเจน ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการทํางานเป็นทีมได้ วางแผนดําเนินงานได้อย่างรอบคอบในขณะที่ผู้บังคับบัญชามีความเห็นว่า ผู้สําเร็จการฝึกอบรมมีความสามารถในการบริหารงานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดนโยบายและวางแผนการประชาสัมพันธ์ได้ 3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพ ควรมีการสํารวจสภาวการณ์ประชาสัมพันธ์ก่อนเปิดหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อศึกษาแนวโน้มการประชาสัมพันธ์ในอนาคต ควรเพิ่มชั่วโมงวิชาการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น ควรคัดเลือกวิทยากรจากผู้ที่มีชื่อเสียงประสบความสําเร็จในวิชาชีพและมีเทคนิคการนําเสนอที่น่าสนใจ และควรให้ความสําคัญกับกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์เพื่อสร้างเครือข่ายนักประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การประเมินผลงาน | th_TH |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | นักประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.title | การประเมินการพัฒนาศักยภาพของนักบริหารงานประชาสัมพันธ์ผ่านหลัก สูตรของสถาบันการประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of public relations executives training programs offered by Public Relations Institute | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to assess capacity development of high- level public relations executives through training programs offered by the Public Relations Institute in terms of 1) the training process; 2) the effectiveness; and 3) approaches for improvement. This was a mixed methods research. For the quantitative portion, a survey was done using a questionnaire to gather data from 93 people who had passed training programs in 2017-2019 and 37 of their work supervisors. Quantitative data were analyzed with the descriptive statistics of percentage, mean and standard deviation. For the qualitative portion, in-depth interviews were held with 6 key informants comprising administrators of the Public Relations Institute, curriculum managers and qualified experts. Data were analyzed deductively. The findings were as follows. 1) The process of capacity development started with analyzing the demands of the trainees and work supervisors who had previously sent public relations executives in for training, as well as studying the current trends in public relations work at that time. The subject matter covered in the training curriculum was found to be useful and participants reported that they could utilize it to the highest degree in their work. Personnel were rated as being knowledgeable and capable to a high degree. Participants said the resource persons brought modern knowledge and techniques to the courses and transmitted them appropriately. They gave the training location a “most satisfied” rating for having an atmosphere that facilitated learning. In terms of duration, they had the highest demand for training 3 days a week for 10 weeks because it would allow them enough time to continue with their ordinary work duties. 2) As for the effectiveness of training, after training participants said they gained good creativity, good ability to clearly communicate their work to their superiors, good teamwork and cooperation, and the ability to plan their work thoroughly. Work supervisors said they could manage work systematically, think of good policies and plan PR work well. 3) Approaches for better capacity development: the organizers should survey the public relations situation before offering a new training program in order to study future trends. The number of hours spent teaching academic public relations should be increased. Resource persons should be chosen from among professionals who have achieved success in the field and who have interesting presentation techniques to share. Attention should be paid to relationship building so that program participants can build up their networks | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168515.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License