Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9219
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุจินตนา ชุมวิสูตร | th_TH |
dc.contributor.author | ปริเยศ ระยารักษ์, 2527 | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-29T03:57:47Z | - |
dc.date.available | 2023-08-29T03:57:47Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9219 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ (2) ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับหลักกฎหมายที่ใช้ในการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ในการดำเนินคดีอาญา ซึ่งเป็นการดำเนินกระบวนการยุติธรรมโดยรัฐ และ (3) ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศ และเสนอแนวทางแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งดำเนินการศึกษาค้นคว้าโดยอาศัยวิธี การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร โดยศึกษาจากข้อมูลเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น วิทยานิพนธ์ หนังสือ ตำรา วารสาร ตัวบทกฎหมาย ผลงานหรือรายงานการวิจัย บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ทางกฎหมาย และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อรวบรวมข้อมูลนำมาประกอบการวิเคราะห์เพื่อประเมินผลและข้อเสนอแนะต่อไป ผลจากการศึกษา พบว่า (1) การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่นั้น เป็นมาตรการในการแก้ไขเยียวยาความเสียหายให้กับจำเลยผู้ซึ่งต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ต้องรับโทษทางอาญาที่เกิดจากการดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่ผิดพลาดหรือไม่สมบูรณ์ ทำให้ผู้บริสุทธิ์ต้องได้รับโทษทั้ง ๆ ที่เป็นผู้บริสุทธิ์ (2) พระราชบัญญัติการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ พ.ศ. 2526 มีการกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ โดยจำกัด เป็นเหตุให้การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่เป็นไปได้ยาก และใช้เวลานาน (3) การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ในประเทศฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาเป็นมาตรการในการเยียวยาความเสียหายจากคำพิพากษาที่เกิดจากความผิดพลาดหรือความไม่สมบูรณ์ในการดำเนินการทางยุติธรรมของรัฐ ดังนั้น เงื่อนไขในการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่จึงต้องเป็นการดำเนินการด้วยความรวดเร็วและเป็นธรรมแก่ประชาชน ผู้ศึกษาเห็นควรที่จะมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ พ.ศ. 2526 เพื่อให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบัน เป็นการรักษาความเป็นธรรม และดำรงไว้ซึ่งกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เป็นกลไกสำหรับแก้ไขข้อผิดพลาด และเยียวยาความเสียหายให้กับผู้บริสุทธิ์ได้อย่างแท้จริง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | ปัญหาการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Problems of resurrecting the criminal case for reconsideration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this independent study is: (1) to study the concepts and theories relating to resurrecting the criminal case for reconsideration, (2) to study the problems relating to the principle of law applied in resurrecting the criminal case for reconsideration in the criminal proceedings of which the justice administration is operated by the state, and (3) to study and compare with the foreign laws, and propose a guideline of the revision on the law relating to resurrecting the criminal case for reconsideration. This independent study is a qualitative research. The study is conducted using the searching and collection method of the data from papers. The data of the related papers whether being legal dissertations, books, textbooks, journals, articles of law, research achievements or reports, articles, printed media, and data from internet, are studied for collecting the said data as an analytical support on further assessment and suggestion. The finding of the studying results indicated as follows: (1) resurrecting the criminal case for reconsideration has been a corrective and remedy measure on damage for the defendant who is finally sentenced for criminal punishment derived from the error or incomplete operation of the criminal justice administration, causing the punishment against the innocent even though he/she is innocent; (2) Resurrecting Criminal Case for Reconsideration Act B.E. 2526 (1983) prescribes the limited rules and conditions, and procedures, causing the difficulty and long-time spending in resurrecting the criminal case for reconsideration; and (3) resurrecting the criminal case for reconsideration in France and United States of America has been a remedy measure on damage from the sentences derived from the erroneous or incomplete operation of the justice administration of the state. Therefore, the condition on resurrecting the criminal case for reconsideration must be quickly and fairly operated for the people. In the opinion of the researcher, the Resurrecting Criminal Case for Reconsideration Act B.E. 2526 (1983) should be revised to be corresponding to the current state of society for maintaining fairness and upholding the criminal justice administration which is a mechanism of the actual error correction and damage remedy for the innocent. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_164451.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License