Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนารีรัตน์ ก่ำโน, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T04:09:18Z-
dc.date.available2023-08-29T04:09:18Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9224en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าจากร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำนภอคอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ (2) ปังจัยส่วนบุดคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าในอำเภอคอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ (3) ปังจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าในอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ และ (4) ปัญหาของการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าในอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริ โภคหรือลูกค้าที่ซื้อวัสดุก่อสร้างจากร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 385 คน ตามสูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ โดย การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเขนมาตรฐาน ทคสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีเหตุผลที่ซื้อวัสดุก่อสร้างเพื่อซ่อมแซมส่วนใหญ่ร้านที่ซื้อวัสดุก่อสร้างคือ ร้านรัตนภัณฑ์ ไม่มีคารใช้บริการร้านใคร้านหนึ่งเป็นประจำ ซึ่งมีการเปรียบเทียบราคาของสินค้าก่อนซื้อ และมีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าวัสดุก่อสร้างมากที่สุด คือ 4-5 ปี การรู้จักร้านขายวัสดุก่อสร้างที่ซื้อมากที่สุดคือ รู้จักเองหรือขับรถผ่าน สื่อที่ทำให้ทราบร้านขาขวัสดุก่อสร้างคือ ป้าย โดยมีเหตุผลที่เลือกร้านขายวัสดุก่อสร้างคือ มีบริการขนส่งสินค้า สำหรับประเภทวัสดุก่อสร้างที่ซื้อมากที่สุดคือ หิน ดิน ทราย โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อวัสดูก่อสร้างแต่ละครั้งคือ 1,000-5,000 บาท (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของทุกคนในบ้านรวมกัน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าจากร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำเภอตอยเต่าจังหวัดเชียงใหม่ ทุกค้าน โดยให้ความสำคัญกับค้านอาชีพมากที่สุค (3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทั้งด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าจากร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำเภอดอยเต่ จังหวัดเชียงใหม่ ทุกค้าน โดยให้ความสำคัญในด้านผลิตภัณฑ์คือ คุณภาพของสินค้า ค้านราคาคือ กำหนตราคามีความเป็นมาตรฐ าน ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายคือ มีบริการจัดส่งสินต้าถึงสถานที่ใช้งน ด้านการส่งเริมการตลาดคือ พนักงานมีมนุษขสัมพันธ์คื (4) ปัญหาการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าคือ ไม่มีของสมนคุณและสินค้ามีราคาสูง รามทั้งไม่ได้รับความสะควกรวดเร็วในการให้บริการและการจัดส่งสินค้า ไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง--การตลาดth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.titleปัจจัยทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าจากร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe marketing factors relating to customer's purchasing construction products behavior from construction product store in Doitao District, Chiangmai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_124116.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons