Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนำโชค วัฒนานัยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T06:27:44Z-
dc.date.available2023-08-29T06:27:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9232-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนทางไกลวิชาการฝึกประสบการณ์การสอนวิชาชีพ 2 เรื่อง สารกึ่งตัวนำและไดโอด สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 3 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนทางไกล เรื่อง สารกึ่งตัวนำและไดโอด และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนทางไกล เรื่อง สารกึ่งตัวนำ และ ไดโอด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 ภาควิชาครุศาสตร์ ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่เรียนในปีการศึกษา 2560 จำนวน 36 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัย คือ (1) ชุด การสอนทางไกล วิชาการฝึกประสบการณ์ การสอนวิชาชีพ 2 เรื่อง สารกึ่งตัวนำและไดโอด (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อชุดการสอนทางไกล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบ ค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดการสอนทางไกล วิชาการฝึกประสบการณ์การสอนวิชาชีพ 2 เรื่อง สารกึ่งตัวนำ และไดโอด มีประสิทธิภาพ 81.67/81.30 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนทางไกลมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนทางไกล เรื่อง สารกึ่งตัวนำและไดโอด มีความพึงพอใจต่อชุดการสอนทางไกลอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาทางไกลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนทางไกลวิชาการฝึกประสบการณ์การสอนวิชาชีพ 2 เรื่อง สารกึ่งตัวนำและไดโอด สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a distance instruction package in the Professional Experience II course on the topic of Semiconductor and Diodes for Third year undergraduate students of Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an experience-based instructional package in the Career and Technology Learning Area on Making Little Butterfly Refrigerator Magnet for Prathom Suksa I students based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the experience-based instructional package; and (3) to study the satisfaction of students who learned from the experience-based instructional package. The research sample consisted of 31 Prathom Suksa I students studying in the second semester of the 2013 academic year at Klong Ban Phrao School in Pathum Thani Primary Education Service Area 1, obtained by cluster sampling. The research instruments comprised (1) an experience-based instructional package on Making Little Butterfly Refrigerator Magnet; (2) a learning achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on the student’s satisfaction toward the experience-based instructional package. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. The research findings indicated that (1) the developed experience-based instructional package was efficient at 82.10/77.72, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students who learned from the experience-based instructional package achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students who learned from the experience-based instructional package were satisfied with the instructional package at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160963.pdf21.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons