Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปราณี สวัสดิ์พาณิชย์, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T08:21:51Z-
dc.date.available2023-08-29T08:21:51Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9252-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ครูวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จำนวน 378 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครู วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 โดย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านเจตคติ คือ ครูเห็นประโยชน์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านความรู้ คือความรู้ในการใช้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลต่างๆ และความรู้ในการเลือกสรรเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม ส่วนสมรรถนะด้านทักษะ คือมีทักษะเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์และทักษะ ในการเลือกสรรเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารth_TH
dc.titleสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27th_TH
dc.title.alternativeThe information and communication technology competenncies of science teachers in schools under thesecondary education service Area office 27en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the information and communication technology competencies of science teachers in schools under the Secondary Education Service Area office 27. The research population comprised 378 science teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office 27. The employed research instrument was a questionnaire on the information and communication technology competencies of science teacher. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall rating mean for the information and communication technology competencies of science teachers in schools under the Secondary Education Service Area office 27 was at the moderate level. When specific competencies of the teachers were considered, it was found that one competency, the attitude competency, received the rating mean at the high level. The item that received top rating mean in the attitude competency was that on the teachers realizing the benefits of using the information and communication technology to support their lifelong learning. Two competencies, namely, the knowledge competency, and the skills competency received the rating mean at the moderate level. the knowledge competency, two items receiving the top rating mean were that on having knowledge concerning the use of equipment in recording data, and that on having knowledge concerning the selection of appropriate technology for instructional management. เท the skills competency, two items receiving the top rating mean were that on having the skill for connecting the computer with its accessories, and that on having the skill for selection of appropriate technology for instructional management.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148749.pdf14.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons