Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพลth_TH
dc.contributor.authorสังวาลย์ ตุกพิมาย, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T06:37:53Z-
dc.date.available2022-08-23T06:37:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/925en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้สารสนเทศของนักศึกษาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการใช้สารสนเทศของนักศึกษาสหกิจศึกษาจำแนกตามสำนักวิชาและขั้นตอนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาและ (3) เพื่อศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศของนักศึกษาสหกิจศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีที่ออกปฎิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 354 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามและได้รับกลับคืน จำนวน 307 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 86.72 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ ร้อยล่ะ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาสหกิจศึกษาใช้สารสนเทศในช่วงเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาทั้ง 3 ช่วงอยู่ในระดับเดียวกัน คือ ระดับมาก ได้แก่ ในขั้นเตรียมความพร้อมและสมัครเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษาใช้เพื่อศึกษาข้อมูลการเขียนจดหมายสมัครงาน ในขั้นระหว่างการปฎิบัติงาน ณ สถานประกอบการใช้เพื่อประกอบการจัดทำโครงการที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการ และในขั้นการเขียนรายงานและนำเสนอผลงานภายหลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาใช้เพื่อการนำเสนอ ผลงานการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (2) การเปรียบเทียบสภาพการใช้สารสนเทศด้านสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำแนกตามช่วงเวลาการปฏิบัติงานพบว่า นักศึกษาสหกิจศึกษาใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในช่วงเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาทั้ง 3 ช่วงมีสภาพการใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 ในดัานเว็บไซต์โครงการสหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ โดยนักศึกษาสหกิจศึกษาใช้เว็บไซต์ โครงการสหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพในช่วงที่ 1 คือช่วงในขั้นเตรียมความพร้อมและสมัครปฎิบัติงานสหกิจศึกษาแตกต่างจากช่วงที่ 3 คือช่วงขั้นการเขียนรายงานและนำเสนอผลงานภายหลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และช่วงที่ 2 คือช่วงขั้นระหว่างปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ โดยที่ช่วงที่ 1 ใช้มากที่สุดและช่วงที่ 2 ใช้น้อยที่สุด (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศแต่ละช่วงที่พบของนักศึกษาสหกิจศึกษาภาพโดยรวมอยู่ในระดับน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศของนักศึกษาสหกิจศึกษา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีth_TH
dc.title.alternativeUse of information by cooperative education students : a case of Suranaree University of Technologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) study information use by cooperative education students of Suranaree University of Technology (SUT), 2) compare information use by cooperative education students classified by institutes and working procedure of cooperative education and 3) study problems of information use for cooperative education students. The research population was 354 cooperative students who performed at various workplaces in the second semester of 2007 academic year. The research was a survey research. Data were collected through a questionnaire. Three hundred and fifty four copies of the questionnaire were distributed to the all research population and 307 of them, comparable to 86.72%, were returned by respondents. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way Analysis of Variance. The research results showed that: 1) The cooperative education students use information in 3 cooperative education working phases with a same mean at “much level” that were in the preparation and job application phase of the cooperative education, the students used information for studying regarding writing application letters to workplaces, in working at workplace phase, the students used information for supporting their projects as assigned by workplaces. And in report writing and performance presentation phase, after completion of working workplaces, the students used information for presentation of their workplace performances. 2) Comparison of information use of electronic form classified by cooperative education working phases found that cooperative education students used electronic information with statistical significant difference at 0.05. That was, in the preparation and job application phase, the students searched information from the web site of the Cooperative Education and Career Development differently from in the report writing and performance presentation phase and the working at workplace phase. It was shown that in the preparation and job application phase, students used information of electronic form the most and in the working at the workplace phase, they used it the least. 3) Problem of information use in each phase found by cooperative education students in general was at the “low” levelen_US
dc.contributor.coadvisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
dc.contributor.coadvisorนฤมล รักษาสุขth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (7).pdfเอกสารฉบับเต็ม5.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons