Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศth_TH
dc.contributor.authorณภัทร อินทร์แผลง, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T06:27:05Z-
dc.date.available2023-08-30T06:27:05Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9277en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นพนักงานตามลักษณะส่วน บุคคลที่มีต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประจำจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 192 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานจะใช้สถิติ ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธี แอลเอสดี ผลการวิจัย พบว่า (1) ความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในภาพรวมอยู่ในระดับที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้สูง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าอยู่ในระดับที่ มีผลต่อการเป็นองค์การเรียนรู้สูง ทั้ง 5 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านพลวัตแห่งการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ด้านการให้อำนาจและความสามารถให้กับบุคคล ด้านการปรับเปลี่ยนองค์กร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารความรู้ (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็นที่มีต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในภาพรวม และรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพนักงานที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส ประเภทตำแหน่งงาน อายุการทำงาน ระดับรายได้ต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือในภาพรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.subjectการเรียนรู้--การจัดการth_TH
dc.subjectองค์กรth_TH
dc.titleความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ : กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeStaff's opinion on factors affecting the learning organization : a case study of the Office of Province Election Commission in the Northeastern of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were : 1) to study the level of Staff ‘s opinion to factors affecting being Learning Organization ; 2) to compare the level of Staff ‘s opinion on personal factors affecting being Learning Organization of the Office of province Election Commission in the Northeastern of Thailand. Samples comprised 192 from 370 Officials of Office of province Election Commission in the Northeastern of Thailand Statistical tool employed was a questionnaire with realibility value of 0.97. The descriptive statistics used for analyzing data were frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Hypothesis Testing by using statistics was t-test , F-Test and Least Significant Difference. The study revealed that : (1) Staff ‘s overall opinion affecting being Learning Organization of Office of province Election Commission in the Northeastern of Thailand were at the high level. When analyzing to each part, it was at the high level is all five parts. The most average past was learning dynamics, then Technology application, Empowerment to transform Organization, and the less average was knowledge management. (2) Samples with different education had the different overall and by part opinions at 0.05 in level of significance to factors affecting being Learning of Office of province Election Commission in the Northeastern of Thailand. Then, the staff with different gender, age, marital status positon, work experience, salary had the indifferent overall and by part opinions to factors affecting being Learning Organization of the Office of province Election Commission of Thailand in the Northeastern at 0.05 in level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130361.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons