Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริชาติ มีสูงเนิน, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T06:43:37Z-
dc.date.available2023-08-30T06:43:37Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9281-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ศูนย์เครือข่ายการศึกษา ที่ 7 อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4- 6 ศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 7 อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 286 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ เรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่านักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 7 อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการปฏิสัมพันธ์ ส่วนด้านที่เหลืออยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดแต่ละด้าน ได้แก่ ด้านประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการเรียนการสอน คือ ยูทูบ ด้านวัตถุประสงค์ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนสอน คือ ใช้เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน ด้านคุณภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการเรียนการสอน คือ มีความทันสมัย ด้านประโยชน์ของการใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน คือ ช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และด้านปัญหาของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์โนการเรียนการสอน คือ เครื่องมืออุปกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 7 อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativehe uses of electronic media for instruction in science courses for Prathom Suksa IV-VI students of Educational Network Center 7 Schools in Phang Khon District, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the uses of electronic media for instruction in science courses for Prathom Suksa IV - VI students of Educational Network Center 7 schools in Phang Khon district, Sakon Nakhon province. The research sample consisted of 286 Prathom Suksa IV - VI students of Educational Network Center 7 schools in Phang Khon district, Sakon Nakhon province during the first semester of the 2019 academic year, obtained by stratified random sampling. The research instrument was a questionnaire on the uses of electronic media for instruction in science courses. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall and by-aspect uses of electronic media for instruction in science courses for Prathom Suksa IV - VI students of Educational Network Center 7 schools in Phang Khon district, Sakon Nakhon province were rated at the high level. When specific aspects of the uses were considered, it was found that one aspect was rated at the highest level, i.e. the use of electronic media in interaction; while the other five aspects were rated at the high level. The items in specific aspects were specified as follows: in the aspect of the types of electronic media used in the instruction was the item of UTube; in the aspect of objectives for using electronic in the instruction was that of induction to the lesson; in the aspect of quality of electronic media used in the instruction was that of the electronic media being up-to-date; in the aspect of the benefits of using electronic media in the instruction was that of the electronic media enabling students to learn on their own; and in the aspect of problems of using electronic media in the instruction was that of devices and equipment.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161416.pdf11.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons