Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่างth_TH
dc.contributor.authorณัฐวลัญช์ ยะคำดุก, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T07:03:21Z-
dc.date.available2023-08-30T07:03:21Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9285en_US
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดปทุมธานี และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ใน จังหวัดปทุมธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงาน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 300 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน ได้ขนาดตัวอย่างจำนวน 171 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของพนักงาน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดปทุมธานี ในภาพรวมพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) มีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านลักษณะงาน ด้านบทบาทหน้าที่ในองค์การ และด้าน ความไม่สมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว อยู่ในระดับปานกลาง และด้านการพัฒนาทางอาชีพการงาน ด้านลักษณะองค์การ และด้านส้มพันธภาพระหว่างบุคคล อยู่ในระดับน้อย และ (2) พนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานแตกต่างกันในด้านสถานภาพสมรส อายุ ตำแหน่งงาน อายุการทำงาน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และภาระทางครอบครัว มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectธนาคารกรุงเทพ--พนักงาน--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของพนังงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeFactor affecting work stress of employee at Bangkok Bank Public Company Limited in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study stress caused by factors in working of Bangkok Bank Staff in Pathum Thani Province; and (2) to compare stress caused by factors in working of Bangkok Bank Staff in Pathum Thani Province, classified by personal factors. The sample group of this survey research consisted of 171 out of 300 staff of Bangkok Bank in Pathum Thani province, selected by using Yamane Taro formulation. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way ANOVA. The research results revealed that: (1) the stress caused by factors in working of Bangkok Bank staff in Pathum Thani Province was overall at a moderate level. As for individual factors, it was found that job description, duty and role in organization and imbalance between working life and personal life were at a moderate level, while personal relationship with colleagues was at a low level; and (2) different personal factors gave rise to different factors of causes of stress at work. Marital status, age, job description, position, duration of work, average monthly income were correlated, with a statistical significance at the level of .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141024.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons