กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9295
ชื่อเรื่อง: ความคิดเห็นของผู้แทนยาของบริษัทยาข้ามชาติในประเทศไทยที่มีต่อปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงาน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Motivation factors of medical representatives of multinational pharmacutical company in Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: จีรากรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
พรทิพย์ วานิชจรูญเกียรติ, 2510-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การจูงใจในการทำงาน
ตัวแทน
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2553
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษากันคว้าอิสระมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกยา (1) ปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานของผู้แทนยาของบริษัทยาข้ามชาติในประเทศไทย (2) เปรียบเทียบปังชัยจูงใจในการปฏิบัติงานของผู้แทนยาของบริษัทยาข้ามชาติในประเทศไทย จำแนกตาม เพส อายุ ระดับการศึกยา สาขาวิชา สถาบันการศึกษา และประสบการณ์การย้ายงานประชากร ได้แก่ ผู้แทนยาบริษัทยาข้ามชาติใบประเทศไทยจำนวน 1600 คน ทำการสุ่มตัวอย่าง 320 คน ด้วยวิธีการแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ รู้อยละ คำเฉลี่ย ค่ำเยี่ยงเบนมาตรฐาน คำสถิติที และค่าสถิติเอฟผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสำคัญของปัจจัยจูงใจอยู่ในระดับมากทั้งสองปัจจัย คือ ปังจัยจูงใจค้นบำรุงรักษา 6 ด้าน เรียงลำดับความสำคัญจากมากไปหาน้อย คือ ความมั่นคงของบริษัท เงินเดือน ผลตอบแทน นโขบายการบริหาร สภาพการทำงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และการบิเทศงานหรือความสัมพันธ์กับผู้บังดับบัญชา ปัจัขจูงใจค้านตัวกระตุ้นในการทำงาน 6 ด้าน เรียงลำดับความสำคัญจากมากไปหาน้อย คือ ความรับผิดชอบ การรียนรู้ ความก้าวหน้าในการทำงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความสำเร็งในการทำงานและ การยอมรับนับถือ (2) เปรียบเทียบปัจจัยจูงใจจำแนกตามเพศ ทั้งเพศชายและเพศหญิงให้ความสำคัญ ปังจัยจูงใจค้ำานบำรุงรักษาไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยจูงใจานตัวกระตุ้นในการทำงานเพศชายให้ความสำคัญ ค้านการยอมรับนับถือ และลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างมีนัชสำคัญทางสถิติที่ 0.5 ส่วมค้านอื่นไม่แตกต่างกัน อายุต่งกับมีปังจัยด้านบำรุงรักษาแตกต่างกัน คือ นโยบายการบริหารสภาพการทำงาน เงินเดือน ผลตอบแทน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และความมั่นคงของบริ ษัทอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 ส่วน ปัจจัยค้านตัวกระตุ้นในการทำงานที่มีแตกต่างกับ คือ ด้านความรับผิดชอบ ระดับการศึกษาต่างกับ มีปังจัยจูงใจด้านบำรุงรักษาและปัจูงใจค้นตัวกระตุ้นในการทำงานไม่แตกดำกัน สาขาวิชาที่จบการศึกษาต่างกัน มีปัจจัยจูงใจ ด้านบำรุงรักษาและปัจจัยจูงใจค้านตัวกระตุ้นใบการทำงานไม่แตกต่างกับ ผู้ที่จบการศึกษาจากสถาบันที่ต่างกัน มี ปัจจัยจูงใจค้านบำรุงรักษาและตัวกระตุ้นในการทำงานไม่แตกต่างกันและ ผู้ที่มีประสบการณ์การย้ายงานมีปัจจัยจูงใจด้านบำรุงรักษาและปังจัยค้านตัวกระตุ้นในการทำงานไม่แตกต่างกับผู้ที่ไม่มีประสบการณ์การย้ายงาน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9295
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_124999.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.75 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons