Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/930
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรายุทธ ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | นริศรา วิรัชศิลป์, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T06:49:40Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T06:49:40Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/930 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพปัจจุบันด้านกายภาพเศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิตของชาวนาตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก (2) การเปลี่ยนแปลงในด้านความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวของชาวนา ตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน 1 คน ชาวนา 9 คน ผู้นำชุมขน 5 คน รวมทั้งสิ้น 15 คน โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารการสัมภาษณ์และการสังเกตแลัวอธิบายวิจัยในลักษณะ พรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพของตำบลหนองแสงในด้านเศรษฐกิจชาวนาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนาไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง ต้องเช่าที่ดินเพื่อทำไร่นา ในการทำนาปีและนาปรังอาศัยแรงงานคนและแรงงานเครื่องจักรเป็นการทำนาด้วยวิธีหว่านนั้าตม ต้องจ้างแรงงานทุกขั้นตอน นอกจากนึ้ยังทำสวน เลี้ยงสัตว์และรับจ้างทั่วไปชาวนาส่วนใหญ่มีหนี้สิน เนึ่องจากมีค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน ค่าปุ๋ย และค่าสารเคมีกำจัดวัชพืชและศัตรูพืชเดิมชาวนามีการแลกเปลี่ยนสิ่งของที่จำเป็นกับข้าวเปลือกแทนเงิน ปัจจุบันชาวนานิยมซื้อข้าวมารับประทานในครัวเรือน เนี่องจากข้าวที่ปลูกเป็นข้าวเกรดต่ำชาวนาจึงขายข้าวทั้งหมด และซื้อข้าวที่มีคุณภาพสูงกว่ามาบริโภค ลักษณะครอบครัวส่วนใหญ่เป็นครอบครัวเดี่ยว การศึกษาของชาวนาส่วนใหญ่อ่านออกเขียนได้ ส่วนบุตรหลานชาวนาเมื่อจบการศึกษาภาคบังคับแล้วส่วนใหญ่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น วิถีชีวิตชาวนาจะผูกพันอยู่กับพิธีกรรมการทำเกษตรกรรมที่เคยปฏิบัติกันมา (2) การเปลี่ยนแปลงในด้านความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวของชาวนา พบว่าเดิมมีการประกอบพิธีสู่ขวัญควาย พิธีทำบุญลาน พิธีแห่นางแมว พีธีสู่ขวัญข้าว พิธีบุญบั้งไฟและพิธีทำบุญกลางบ้านแต่ปัจจุบันบางพิธีกรรมได้เลึอนหายไปเนื่องจากชาวนามีการนำเครื่องจักรและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการทำนา การปฏิวัติเขียว การศึกษา การย้ายถิ่นฐาน สาธารณูปโภคพื้นฐาน การยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ คนรุ่นใหม่ไม่ได้รับการถ่ายทอดการทำนา ต้องเช่าที่ดินในการทำนา อาศัยแหล่งน้ำจากระบบชลประทานมากขึ้น เปลี่ยนจากแรงงานภายในครอบครัวหรึอเพื่อนบัานมาเป็นการจ้างแรงงาน แหล่งเงินทุนมาจากการกู้ยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์และเงินกู้นอกระบบ นำปุ๋ยวิทยาศาสตร์มาใชัเกือบทั้งหมด นำสารเคมีมาใช้ในการปราบศัตรูพืชและวัชพืช ได้รับเมล็ดพันธุ์ข้าวจากเกษตรอำเภอ เปลี่ยนเครึ่องมือในการทำนาจากแรงงานสัตว์มาเป็นเครึ่องจักรและเทคโนโลยีสมัยใหม่ จึงทำให้กระบวนการผลิตและการ แลกเปลี่ยนผลผลิตในการทำนาสะดวกรวดเร็วขึ้น ส่วนแนวโน้มในการประกอบอาชีพทำนาของคนรุ่นใหม่ ไม่ต้องการประกอบอาชีพทำนาสืบทอดจากบรรพบุรุษเพราะต้องการประกอบอาชีพตามที่ตนได้ศึกษามาผลจากการเปลี่ยนแปลงความเชึ่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าว ในบัจจุบันของชาวนาตำบลหนองแสงคงเหลือเพียงแต่พิธีสู่ขวัญข้าว พิธีทำบุญกลางบ้าน และประเพณีบุญบั้งไฟเท่านั้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.16 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การทำนา--พิธีกรรม | th_TH |
dc.subject | ข้าว--คติชาวบ้าน | th_TH |
dc.subject | ข้าว--พิธีกรรม | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงในด้านความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวของชาวนาจังหวัดนครนายก : กรณีศึกษาตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก | th_TH |
dc.title.alternative | Changes in beliefs and rites concerning the rice culture of farmers of Nakhon Nayok Province in the Nong-Saeng District of Amphoe Pak Phli in Nakhon Nayok Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.16 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research work were to study (1) the present status of physical factors, economy, society and lifestyle of farmers in the Nong-Saeng District of Amphoe Pak Phli in Nakhon Nayok Province, (2) the changes in terms of beliefs and rites concerning the rice culture of farmers in the Nong-Saeng District of Amphoe Pak Phli of Nakhon Nayok Province. The research was conducted as a qualitative study. The population sample was composed of a village scholar, 9 farmers and 5 community leaders totalling 15. Document analysis, interview, and observation techniques were used as the research instrument in this study. The result was shown by the method of a descriptive analysis. The result revealed that (1) In Nong-Saeng District, their occupations were paddy farming by field hiring with no own land. The machines and labor were used in in-season rice fields Lid double-crop fields by wetseeded method. All steps in paddy farming were done by hiring the services. Moreover, The farmers involved in cultivation, animal husbandry and other general occpations. Thus, most farmers owned debt from hiring expenses, fertilizer, herbicide, and pesticide purchase. Previously, money was not used, but essential things were exchanged for paddy. At present, farmers prefer to buy rice because they plant lower grade paddy than the rice they consume. Most families are single-families. Farmers are able to read and write. The descendants have a higher educational level. The farmer’s lifestyle is related to previous cultivation rites. (2)There is a change in beliefs and rites concerning the rice culture of farmers. Some rites were previously held such as the buffalo blessing ceremony, field ceremony, rainfall praying ceremony, the rice blessing ceremony, fireworks ceremony, Lid house blessing ceremony. But now beliefs and rites have diminished because of machines, the green revolution, education, migration, public utilities, and new technology acceptance. Specifically, lack of rice farming methodology transfer, hiring the fields, irrigation dependence, hiring labor services, agricultural bank loans, illegal loans, fertilizer utilization, herbicide and pesticide usage, seed from officers, machine and technology replacement which cause rice farming easily and productively. The descendants need not continue in the rice farming profession from their ancestors because they want to work based on their educational background. In conclusion, the beliefs and rites that still remain are the rice blessing ceremony, fireworks ceremony, and house blessing ceremony. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จิตรา วีรบุรีนนท์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อำนาจ ศิลวัตร | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (8).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License