Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณรงค์ชัย บุญตา, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-31T08:05:31Z-
dc.date.available2023-08-31T08:05:31Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9329-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดพิษณุโลก (2)เปรียบเทียบการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภค ในจังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) วิเคราะห์ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดพิษณุโลก ประชากรที่ศึกษา คือ กลุ่มประชากรที่เคยซื้อสินค้าผ่านทางออนไลน์ในจังหวัดพิษณุโลก โดยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กลุ่มตัวอย่างคำนวณได้จำนวน 400 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) การตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัด พิษณุโลกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2)การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดพิษณุโลก พบว่า มีความแตกต่างกันตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระสับ 0.05 และ (3) ปัจจัยทางสังคมและปัจจัยทางจิตวิทยา โดยรวมมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยทางสังคม โดยรวมมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อในระดับตา (r = 0.29) ส่วนปัจจัยทางจิตวิทยาโดยรวม มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อในระดับสูง (r = 0.82)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--พิษณุโลth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้า--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeFactors relating consumer purchase decision in online products in Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study purchase decision in online products of consumers in Phitsanulok Province; (2) to compare consumers’ purchasing decisions in online products classified by personal factors; and (3) to investigate the relationship between social and psychological factors and consumers’ purchasing decisions in online products in Phitsanulok Province. The population was consumers who had made purchasing decisions of online products in Phitsanulok Province. A total of 400 consumers purchasing online products in Phitsanulok Province was chosen as samples, using convenient sampling method. The data was collected by using survey questionnaires, and were analyzed by employing descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, and inferential statistics including t-test, One-way ANOVA and Pearson Product Moment. The results showed that: (1) consumers purchasing decisions in online products in Phitsanulok Province were overall at a high level. (2) There were statistically significant differences between consumers purchasing decisions in online products and personal factors of age, education background, occupation and income at the statistical significance level of 0.05. (3) Social factors and psychological factors showed significant positive correlation with consumers purchasing decisions at the statistical significant level of 0.05. Social factors related to consumers purchasing decisions at a low level (r = 0.29) while psychological factors related to consumers purchasing decisions at a high level (r = 0.82).en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154962.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons