Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพร สีเงินยวง, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T07:10:43Z-
dc.date.available2023-09-01T07:10:43Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9362-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ในจังหวัดสตูล ระหว่างกลุ่มที่เรียนภายใต้การจัดการ เรียนรู้ตามแบนสะเต็มโดยใช้การสืบเสาะเป็นฐานกับกลุ่มที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้ตามแบบสะเต็มโดยใช้การสืบเสาะเป็นฐานกับกลุ่มที่ เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปืที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคสตูล จังหวัดสตูล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 2 ห้องเรียน จำนวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแบบสะเต็มโดยใช้ การสืบเสาะเป็นฐาน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ และแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เรื่องแรงและ การเคลื่อนที่ เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา และแบบ วัดความคิดสร้างสรรค์ สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนของนักเรียนระดับ, ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 จังหวัดสตูล ที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแบบสะเต็มโดยใช้การสืบเสาะเป็นฐาน สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 จังหวัดสตูล ที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแบบสะเต็มโดยใช้การสืบเสาะเป็นฐาน สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแบบสะเต็มโดยใช้การสืบเสาะเป็นฐานเรื่องแรงและการเคลื่อนที่ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeEffects of STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation in the topic of force and movements on problem solving ability and creative thinking of the first year vocational certificate students in Satun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare problem solving ability scores of first year vocational certificate students in Satun province between that of the group learning under STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation and that of the group learning under the conventional teaching method; and (2) to compare creative thinking scores of the students in the group learning under STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation and that of students in the group learning under the conventional teaching method. The research sample consisted of 60 first year vocational certificate students in two intact classrooms of Satun Technical College in Satun Province during the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. Research instruments comprised treatment instruments which included learning management plans for STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation in the topic of Force and Movements, learning management plans for the conventional teaching method in the topic of Force and Movements; and data collecting instruments which included a scale to assess problem solving ability and a scale to assess creative thinking. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning problem solving ability scores of first year vocational certificate students in Satun province in the group learning under STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation were significantly higher than the counterpart scores of students in the group learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning creative thinking scores of the students in the group learning under STEM learning management with the use of inquiry learning as foundation were significantly higher than the counterpart scores of students in the group learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156538.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons