Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนองth_TH
dc.contributor.authorณัฐกุล กิ่งแก้ว, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T07:26:47Z-
dc.date.available2023-09-01T07:26:47Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9364en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการควบคุมตนเองในพฤติกรรม ติดสมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต ในกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบการควบคุมตนเองในพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน ของนักเรียนกลุ่มทดลองดังกล่าว หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับในระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ปีการศึกษา 2558 ที่มีพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการควบคุมตนเองในพฤติกรรม ติดสมาร์ทโฟน และ (2) แบบวัดการควบคุมตนเองในพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต ในกลุ่มทดลอง มีการควบคุมตนเองในพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนของตนสูงขึ้นกว่าการควบคุมตนเองดังกล่าวก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) การควบคุมตนเองในพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทยth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการช่วยเหลือในเด็กth_TH
dc.subjectสมาร์ทโฟนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวต่อการควบคุมตนเองในพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeEffects of using the guidance activities package on self-control in Smartphone addicted behaviors of Mathayom Suksa I students at Satree Phuket School in Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare levels of self-control in smartphone addicted behaviors of Mathayom Suksa I students at Satree Phuket School in the experimental group before and after using a guidance activities package; and (2) to compare the level of self-control in smartphone addicted behaviors of the students in the experimental group after using the guidance activities package with their counterpart self-control level during the follow up period. The research sample consisted of 30 purposively selected Mathayom Suksa I students at Satree Phuket School in Phuket province during the first semester of the 2015 academic year, who had smartphone addicted behaviors. The employed research instruments were (1) a guidance activities package for self-control in smartphone addicted behaviors, and (2) a scale to assess self-control in smartphone addicted behaviors with .91 reliability coefficient. The data were statistically analyzed with the use of the mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that (1) the post-experiment level of self-control in smartphone addicted behaviors of Mathayom Suksa I students at Satree Phuket School in the experimental group who used the guidance activities package was significantly higher than their pre-experiment counterpart self-control level at the .01 level of statistical significance; and (2) the self-control level in smartphone addicted behaviors at the end of the experiment of the experimental group students was not significantly different from their counterpart self-control level during the follow up period.en_US
dc.contributor.coadvisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156540.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons