Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พินสุวรรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญสิริ จุติ, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T07:42:44Z-
dc.date.available2023-09-01T07:42:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9367-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย ของนักเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ (3) ศึกษาระดับความคิดเห็นของนักเรียน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านหลักสูตรท้องถิ่น 3 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัด การเรียนรู้ 3 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนหาดเสี้ยววิทยา อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย จำนวน 23 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินหลักสูตร แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่น สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย มีความเหมาะสมและสามารถนำไปใช้เป็นสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมได้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังใช้หลักสูตรสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียน ครูวิทยาศาสตร์ และผู้ปกครองนักเรียนมีความเห็นว่าหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัยมีความเหมาะสมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.173en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- สุโขทัยth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- หลักสูตรth_TH
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมเรื่องผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of local curriculum for supplementary science learning area on the topic of Si Satchanalai local cloth for Prathom Suksa VI students of Schools in Hat Siao Sub-district, Si Satchanalai District, Sukhothai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a local curriculum for supplementary Science Learning Area on the topic of Si Satchanalai Local Cloth for Prathom Suksa VI students of schools in Hat Siao sub-district, Si Satchanalai district, Sukhothai province; (2) to compare the students’ learning achievement on the topic of Si Satchanalai Local Cloth with the criterion of 75 percent of full score, and (3) to study the opinions of students, teachers in the Science Learning Area, and parents toward the local curriculum for supplementary Science Learning Area on the topic of Si Satchanalai Local Cloth. The research sample consisted of three local curriculum experts and three learning management experts, all of which were purposively selected, and 23 Prathom Suksa VI students studying in the second semester of academic year 2016 in Hat Siao Wittaya School obtained by cluster random sampling. The research instruments consisted of a curriculum evaluation form, a learning management plan, a learning achievement test, and a questionnaire on opinion toward local curriculum. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the developed local curriculum for supplementary Science Learning Area on the topic of Si Satchanalai Local Cloth was found to be appropriate and could be implemented as the curriculum for supplementary Science Learning Area; (2) students’ learning achievement after learning under the local curriculum was significantly higher than the criterion of 75 percent of full score at the .05 level; and (3) the students, science teachers, and parents had opinions that the local curriculum for supplementary Science Learning Area on the topic of Si Satchanalai Local Cloth was appropriate at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156543.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons