Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พินสุวรรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงใจ สีเขียว, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T08:03:49Z-
dc.date.available2023-09-01T08:03:49Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9369-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเอี่ยมสุรีย์ (อนุบาลเมืองสมุทรปราการ) ปีการศึกษา 2560 จำนวน 74 คนได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือในการวิจัย คือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และ (4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.169en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- สมุทรปราการth_TH
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเอี่ยมสุรีย์ (อนุบาลเมืองสมุทรปราการ) จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeEffects of learning management using problem-based learning through cooperative learning on science learning achievement and science problem solving ability of Prathom Suksa VI students of Iamsuree (Anuban Mueang Samut Prakan) School in Samut Prakan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science learning achievement of Prathom Suksa VI students learning under the problem-based learning management through cooperative learning with that of students learning under traditional instruction; and (2) to compare science problem solving ability of the students learning under the problem-based learning management through cooperative learning with that of students learning under traditional instruction. The research sample consisted of 74 Prathom Suksa VI students at Iamsuree (Anuban Mueang Samut Prakarn) School in the 2017 academic year, obtained by cluster random sampling. The instruments used in this research were (1) learning management plans for the problem-based learning through cooperative learning, (2) learning management plans for traditional instruction, (3) a science learning achievement test, and (4) a science problem solving ability test. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results of this research were as follows: (1) science learning achievement of Prathom Suksa VI students who learned under the problem-based learning management through cooperative learning was significantly higher than that of the students who learned under traditional instruction at the .01 level; and (2) science problem solving ability of the students who learned under the problem-based learning management through cooperative learning was significantly higher than that of the students who learned under traditional instruction at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156544.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons