Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชลิตา ทองเพิ่ม, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-04T07:12:51Z-
dc.date.available2023-09-04T07:12:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9383-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิก เรื่อง ดาราศาสตร์และอวกาศ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิก กับของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติ และ (3) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิกกับของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร จังหวัดระนอง ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 2 กลุ่ม ๆ ละ 45 คน แล้วกำหนดโดยการสุ่มให้เป็นกลุ่มทดลองที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนอินโฟกราฟิก และกลุ่มควบคุมที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิก เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ ประกอบด้วยชุดกิจกรรมย่อย 3 ชุด คือ ชุดที่ 1 ระบบสุริยะชุดที่ 2 เอกภพ ดาวฤกษ์ และกาแล็กซี ชุดที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ (2) แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิก เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ จำนวน 6 แผน (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.94 และ (4) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.78 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิก เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมานั้น มีค่าประสิทธิภาพ (E1/ E2) เท่ากับ 81.33 /82.11 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิกสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิกทั้ง 3 องค์ประกอบหลังเรียนสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.19en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectดาราศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- ระนองth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อินโฟกราฟิกเรื่อง ดาราศาสตร์และอวกาศ ที่มีต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeEffects of instructional package using infographic in the topic of Astronomy and Space on learning achievement and creative thinking Mathayom Suksa III students at Pichai Ratanakan School in Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) develop an instructional package using infographic on the topic of Astronomy and Space in a science course at Mathayom Suksa III level based on the efficiency criterion of 80/80; (2) compare science learning achievement on the topic of Astronomy and Space of Mathayom Suksa III students who learned under the learning management by using an instructional package using infographic and that of the students who learned under the traditional teaching method; and (3) compare creative thinking of the students who learned under the learning management by using an instructional package using infographic and that of the students who learned under the traditional teaching method. The research sample consisted of Mathayom Suksa III students in two intact classrooms, each of which containing 45 students, of Phichai Ratanakan School in Ranong Province during the first semester of the 2018 academic year, obtained by cluster random sampling. Then they were randomly assigned as the experimental group to learn under the learning management by using an instructional package using infographic, and the control group to learn under the traditional teaching method. The employed research instruments were (1) an instructional package using infographic on the topic of Astronomy and Space consisting of 3 sets of activity packages: Set 1: The Solar System, Set 2: The Universe, Stars and Galaxies, and Set 3: Space Technology; (2) six learning management plans for the learning management by using an instructional package using infographic on the topic of Astronomy and Space; (3) a learning achievement test on Astronomy and Space with reliability coefficient of 0.94; and (4) a scale to assess creative thinking, with reliability coefficient of 0.78. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) the developed instructional package using infographic on the topic of Astronomy and Space in a science course at Mathayom Suksa III level was efficient at 81.33/82.11, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the postlearning science learning achievement of the students who learned under the learning management by using an instructional package using infographic was significantly higher than that of the students who learned under the traditional teaching method at the significance level of .05, and (3) creative thinking of the students who learned under the learning management by using an instructional package using infographic was significantly higher than that of the students who learned under the traditional teaching method at the significance level of .05en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159705.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons