Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
dc.contributor.authorปรเมศวร์ ขาวสุด, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-04T07:58:00Z-
dc.date.available2023-09-04T07:58:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9386en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของมโนมติ เรื่อง เซลล์ของ สิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับของนักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความสุขในการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของ สิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับของนักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนย่านตาขาว- รัฐชนูปถัมภ์ ผู้วิจัยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม สุ่มนักเรียน 2 ห้องเรียน จำนวน 70 คน แล้วใช้การสุ่ม อย่างง่าย (จับสลาก) เพื่อจัดนักเรียนเข้ากลุ่ม 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ ปกติ และกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการ จัดการเรียนรู้เชิงรุก และแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (2) แบบวัดมโนมติ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต และ (3) แบบสอบถามความสุขในการเรียน เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีคะแนนเฉลี่ยของ มโนมติ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีความสุขในการ เรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ตรังth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อมโนมติทางวิทยาศาสตร์และความสุขในการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนย่านตาขาวรัฐชนูปถัมภ์ จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeEffects of proactive learning management in the topic of cells of living things on scientific concepts and happiness in science learning of Matthayom Suksa V students at Yantakhao Ratchanupatham School in Trang Provinceen_US
dc.typeThesisten_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the mean score of scientific concepts in the topic of Cells of Living Things of Mathayom Suksa V Students who learned under the proactive learning management with that of the students who learned under the traditional learning management; and (2) to compare the level of happiness in science learning in the topic of Cells of Living Things of Mathayom Suksa V Students who learned under the proactive learning management with that of the students who learned under the traditional learning management. The research sample consisted of 70 Mathayom Suksa V students in two intact classrooms of Yantakhao Ratchanupatham School in Trang province during the 2018 academic year, obtained by cluster random sampling. Then one classroom was randomly assigned as the control group to learn under the traditional learning management; while the other classroom, the experimental group to learn under the proactive learning management. The employed research instruments were (1) learning management plans in the topic of Cells of Living Things for proactive learning management, and learning management plans in the topic of Cells of Living Things for traditional learning management; (2) a learning achievement test on scientific concepts in the topic of Cells of Living Things; and (3) a questionnaire on happiness in science learning in the topic of Cells of Living Things. Statistics used for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) students who learned under the proactive learning management had the mean score of scientific concepts in the topic of Cells of Living Things significantly higher than the counterpart mean score of students who learned under the tradition learning management at the .05 level of statistical significance; and (2) students who learned under the proactive learning management had the level of happiness in science learning in the topic of Cells of Living Things significantly higher than the counterpart level of students who learned under the tradition learning management at the .05 level of statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162231.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons