Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9389
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ทับทิม ดิษสาย, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-04T08:42:57Z | - |
dc.date.available | 2023-09-04T08:42:57Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9389 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ (3) เปรียบเทียบจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสวรรค์อนันตวิทยา 2 จังหวัดสุโขทัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 16 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงในชีวิตประจำวัน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 3 เรื่อง แรงในชีวิตประจำวัน มีค่าความเที่ยง 0.89 และ (3) แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน-มาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องแรงในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 18.13 (2) คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่องแรงในชีวิตประจำวัน หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ มีค่าร้อยละ 85.20 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และ (3) คะแนน จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับดี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ของเล่นเพื่อการศึกษา | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สุโขทัย | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงในชีวิตประจำวันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา 2 จังหวัดสุโขทัย | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of learning management with the use of science toys in the topic of forces in daily life on learning achievement and scientific mind of Mathayom Suksa II students at Sawan Anan Wittaya 2 school in Sukhothai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to compare learning achievements of Mathayom Suksa II students before and after learning under the learning management with the use of science toys; (2) to compare learning achievement of Mathayom Suksa II students against the 70 percent of full score criterion; and (3) to compare scientific mind scores of Mathayom Suksa II students before and after learning under the learning management with the use of science toys. The research sample consisted of 16 purposively selected Mathayom Suksa II students at Sawan Anan Wittaya 2 School in Sukhothai province during the first semester of the 2018 academic year. The employed research instruments were (1) learning management plans for the learning management with the use of science toys in the topic of Forces in Daily Life; (2) a learning achievement test on the Science 3 Course topic of Forces in Daily Life, with reliability coefficient of 0.89; and (3) a scale to assess scientific mind. Statistics employed in the research were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings were as follows: (1) the post-learning achievement mean score in the topic of Forces in Daily Life of Mathayom Suksa II students was higher than their pre-learning counterpart mean score by 18.13 percent; (2) the post-learning achievement mean score in the topic of Forces in Daily Life of Mathayom Suksa II students learning under the learning management with the use of science toys was 85.20 percent of full score which was more than the 70 percent criterion; and (3) the post-learning scientific mind scores of Mathayom Suksa II students were higher than their pre-learning counterpart scores with their post-learning mean score being increased from the moderate level to the high level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จุฬารัตน์ ธรรมประทีป | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162076.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License