Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยงยุทธ ขาวสุข, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-05T03:11:40Z-
dc.date.available2023-09-05T03:11:40Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9395-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยในการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์ พกพาเพื่อการเรียนการสอนของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยใน การยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำแนกตามอายุ ประสบการณ์ในการสอนรายได้และการใช้คอมพิวเตอร์พกพา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 รวมทั้งสิ้น 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์ พกพาเพื่อการเรียนการสอนของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยในการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อ การเรียนการสอนของ ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง เรียงตามลำดับดังนี้ (ก) ด้านผู้รับ (ข) ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม (ค) ด้านคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอน และ (ง) ด้านการเผยแพร่คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอน และ (2) ผลการเปรียบเทียบการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอน พบว่า (2.1) ครูที่มีอายุแตกต่างกันมีการยอม รับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนไม่แตกต่างกัน (2.2) ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนแตกต่างกันมีการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนแตกต่างกันโดย ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนน้อย ยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนมากกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการสอนมาก (2.3) ครูที่มี รายได้แตกต่างกันมีการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนแตกต่างกันโดยครูที่มีรายได้น้อยยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนมากกว่าครูที่มีรายได้มาก และ (2.4) ครูที่มีการใช้คอมพิวเตอร์พกพาแตกต่างกันมีการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนแตกต่างกัน โดยครูที่ใช้คอมพิวเตอร์ พกพามากมีการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนมากกว่าครูที่ใช้คอมพิวเตอร์พกพาน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นประถมth_TH
dc.titleปัจจัยการยอมรับการใช้คอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการเรียนการสอนของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7th_TH
dc.title.alternativeFactors concerning adoption of portable computer for instruction of Phathom Suksa I Teachers in Schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 7en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study factors concerning adoption of portable computer for instruction of Prathom Suksa I teachers in schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 7; and (2) to compare factors concerning adoption of portable computer for instruction of Pratom Suksa I teachers as classified by age, teaching experience, income, and level of using portable computer. The research sample consisted of 250 Prathom Suksa I teachers in schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 7. The employed research instrument was a questionnaire on factors concerning adoption of portable computer for instruction of Prathom Suksa I teachers. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and analysis of variance. Research findings revealed that (1) both overall and specific factors concerning adoption of portable computer for instruction were rated at the moderate level; the specific factors could be ranked based on their rating means as follows: (a) the receiver factor, (b) the social context factor, (c) the characteristics of portable computer for instruction factor, and (d) the dissemination of portable computer for instruction factor; and (2) regarding comparison results of adoption of portable computer for instruction, it was found that (2.1) teachers with different ages did not differ in their adoption of portable computer for instruction, (2.2) teachers with different teaching experiences differed significantly in their adoption of portable computer for instruction, with teachers with less teaching experience adopting portable computer for instruction more than teachers with more teaching experience, (2.3) teachers with different incomes differed significantly in their adoption of portable computer for instruction, with teachers with lower income adopting portable computer for instruction more than teachers with higher income, and (2.4) teachers with different levels of using portable computer differed significantly in their adoption of portable computer for instruction, with teachers with high level of using portable computer adopting portable computer for instruction more than teachers with low level of using portable computer.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143501.pdf14.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons