Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9399
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ยุพาพร บรรดาศักดิ์, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-05T03:56:12Z | - |
dc.date.available | 2023-09-05T03:56:12Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9399 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้ายให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความคล้าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความคล้ายกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์คณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์คณิตศาสตร์ เรื่องความคล้ายมีประสิทธิภาพ 70.11/71.6 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความเหมาะสมในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ปทุมธานี | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ความคล้ายสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The development of an e-book learning package in mathematics on the top of similarity for Mathayom Suksa III Students of Pathum Wilai School in Pathum Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to develop an e-book learning package in mathematics on the topic of Similarity for Mathayom Suksa III students of Pathum Wilai School in Pathum Thani province based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the e-book learning package on the topic of Similarity; and (3) to study opinions of the students toward the e-book learning package on the topic of Similarity. The research sample consisted of 40 Mathayom Suksa III students of Pathum Wilai School in Pathum Thani province during the first semester of the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) an e-book learning package in mathematics on the topic of Similarity; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the e-book learning package in mathematics. Statistics used for data analysis were the Ej/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the developed e-book learning package in mathematics on the topic of Similarity was efficient at 70.11/71.61, thus meeting the set 70/70 efficiency criterion; (2) students learning from the e-book learning package achieved significant learning progress at the .05 level; and (3) the students had opinions that the e-book learning package was appropriate at the high level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
152114.pdf | 12.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License