Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รินญารักษ์ รักษาแก้ว, 2524- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-13T03:09:22Z | - |
dc.date.available | 2023-09-13T03:09:22Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9446 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการบริหารเวลาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 หลักสูตรศิลปกรรม วิทยาลัยช่างศิลป์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบการบริหารเวลาของนักเรียนหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และติดตามผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 หลักสูตรศิลปกรรมวิทยาลัยช่างศิลป ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 10 คน ที่มีคะแนนการบริหารเวลาน้อย 10 ลำดับ และมีความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามการบริหารเวลา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการบริหารเวลาของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมายของวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีการบริหารเวลาหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวทั้งรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีการบริหารเวลาหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและติดตามผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบริหารเวลา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการบริหารเวลาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 หลักสูตรศิลปกรรม วิทยาลัยช่างศิลป ในจังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop time management of the first-year students in vocational certificate at the College of Applied Fine Arts, Nakorn Sri Thammarat | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) compare time management of the first-year students in vocational certificate at the College of Applied Fine Arts, Nakorn Sri Thammarat before and after using a guidance activities package, and 2) compare time management of the students after using a guidance activities package and the follow up period. The sample were 10 students of the first-year in vocational certificate at the College of Applied Fine Arts, Nakorn Sri Thammarat who had least score of time management and they were volunteers. The instruments were 1) a questionnaire about time management with a reliability coefficient of .97, and 2) a guidance activities package to develop the time management. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and the Wilcoxson Signed-Rank test. The results revealed that 1) time management of the students at the end of using the guidance activities package was higher than before with statistically significant difference at .05 level, and 2) the time management at the end after using the guidance activities package and during the follow up period was different at .05 level of statistical significance | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License